สุดยอดความคิดเห็น
ความคิดเห็นที่ 8
.
การยกที่ดินให้เป็นสมบัติสาธารณะ
เเม้เป็นการยกให้ด้วยวาจา ก็ถือว่าการให้นั้นสมบูรณ์แล้ว
โดยไม่จำเป็นต้องไปจดทะเบียนโอนที่ดินเเปลงนั้นเเต่อย่างใด
เเม้เป็นการยกให้ด้วยวาจา ก็ถือว่าการให้นั้นสมบูรณ์แล้ว
โดยไม่จำเป็นต้องไปจดทะเบียนโอนที่ดินเเปลงนั้นเเต่อย่างใด
เรื่องนี้มีฎีกาให้ศึกษาเป็นสิบกรณี ไม่ใช่การกล่าวอ้างลอยๆเพื่อรังเเกเฮียชู
ลองย้อนไปดู เหตการณ์วุ่นวายขายปลาช่อนที่เกิดกับเฮียชูในตอนนี้
ล้วนเเล้วเเต่มาจาก " ปากของเฮีย "เองทั้งนั้น
เรื่องนี้ก็ทำท่าจะเป็น " ปลาหมอตายเพราะปาก " อีกเรื่องหนึ่งเหมือนกัน
ลองย้อนไปดู เหตการณ์วุ่นวายขายปลาช่อนที่เกิดกับเฮียชูในตอนนี้
ล้วนเเล้วเเต่มาจาก " ปากของเฮีย "เองทั้งนั้น
เรื่องนี้ก็ทำท่าจะเป็น " ปลาหมอตายเพราะปาก " อีกเรื่องหนึ่งเหมือนกัน
1.การอุทิศที่ดินมีผลทันที โดยไม่จำต้องจดทะเบียนโอนกรรมสิทธิ์อีก อ้างอิงตามฎีกาเลขที่ ๔๓๗๗/๒๕๔๙
2.การอุทิศที่ดินมีผลทันทีเช่นกัน แม้หนังสืออุทิศจะระบุว่า จะต้องไปจดทะเบียน ก็ตาม อ้างอิงตามฎีกาเลขที่ ๔๓๗๗/๒๕๔๙
3.เมื่อการอุทิศที่ดินมีผลสมบูรณ์โดยไม่จำต้องจดทะเบียนโอน จะฟ้องศาลบังคับให้ไปจดทะเบียนโอนไม่ได้ อ้างอิงตามฎีกาเลขที่ ๑๒๗๒/๒๕๓๙
4.การอุทิศที่ดินของเอกชนแม้ด้วยวาจา ก็มีผลสมบูรณ์ตามกฎหมาย อ้างอิงตามฎีกาเลขที่ ๒๖๔/๒๕๕๕
5.การอุทิศที่ดินเป็นสาธารณสมบัติของแผ่นดิน ถึงแม้ไม่ได้ถูกใครใช้ประโยชน์ก็ไม่อาจสูญสิ้นไป รวมถึงแม้ประชาชนส่วนใหญ่ จะมิได้ใช้ทางพิพาทตามวัตถุประสงค์ก็ตาม อ้างอิงตามฎีกา เลขที่ ๒๐๐๔/๒๕๔๔
6.การแสดงเจตนาอุทิศที่ดิน ไม่จำต้องมีนายอำเภอ หรือนายก อปท. ในกรณีที่ดินในกรุงเทพมหานครก็ไม่จำเป็นต้องมีกรุงเทพมหานคร กระทรวงมหาดไทย หรือกรมธนารักษ์แสดงเจตนารับ ก็มีผลสมบูรณ์แล้ว อ้างอิงตามฎีกาเลขที่ ๒๓๗๗/๒๕๔๙
7.การที่ผู้อุทิศที่ดิน กลับเข้ามาครอบครองที่ดินที่อุทิศไปแล้ว แม้จะกลับมาครอบครองนานเพียงใดก็ไม่ทำให้ที่ดินกลับมาเป็นของผู้อุทิศที่ดินนั้นอีก จะยกเอาอายุความต่อสู้กับแผ่นดิน ไม่ได้ อ้างอิงตามฎีกาเลขที่ ๒๖๔/๒๕๕๕
8.ผู้อุทิศที่ดินจะขอยกเลิกการอุทิศที่ดิน ไม่ได้ อ้างอิงตามฎีกาเลขที่ ๑๑๐๘๙/๒๕๕๖
9.เมื่อมีการอุทิศที่ดินให้เป็นสาธารณประโยชน์ แม้หน่วยงานราชการยังไม่ได้ใช้ประโยชน์ตามความประสงค์ของผู้อุทิศ หรือตามเงื่อนไขการอุทิศให้ก็ตาม ที่ดินนั้นก็ยังคงสภาพเป็นสาธารณสมบัติของแผ่นดิน อ้างอิงตามฎีกาเลขที่ ๒๐๐๔/๒๕๔๔
10.การอุทิศที่ดินให้เป็นสาธารณสมบัติของแผ่นดิน อาจกระทำ "โดยปริยาย" ก็ได้ เช่น ยินยอมให้ประชาชนใช้สอยโดยไม่หวงห้าม อ้างอิงฎีกาเลขที่ ๖๐๖๗/๒๕๕๒,๒๕๒๖/๒๕๔๐ แต่ต้องเป็นการยินยอมให้ประชาชนทั่วไปที่มิได้มีความสัมพันธ์ทางส่วนตัวกับเจ้าของ ไม่ว่าทางใดๆ
2.การอุทิศที่ดินมีผลทันทีเช่นกัน แม้หนังสืออุทิศจะระบุว่า จะต้องไปจดทะเบียน ก็ตาม อ้างอิงตามฎีกาเลขที่ ๔๓๗๗/๒๕๔๙
3.เมื่อการอุทิศที่ดินมีผลสมบูรณ์โดยไม่จำต้องจดทะเบียนโอน จะฟ้องศาลบังคับให้ไปจดทะเบียนโอนไม่ได้ อ้างอิงตามฎีกาเลขที่ ๑๒๗๒/๒๕๓๙
4.การอุทิศที่ดินของเอกชนแม้ด้วยวาจา ก็มีผลสมบูรณ์ตามกฎหมาย อ้างอิงตามฎีกาเลขที่ ๒๖๔/๒๕๕๕
5.การอุทิศที่ดินเป็นสาธารณสมบัติของแผ่นดิน ถึงแม้ไม่ได้ถูกใครใช้ประโยชน์ก็ไม่อาจสูญสิ้นไป รวมถึงแม้ประชาชนส่วนใหญ่ จะมิได้ใช้ทางพิพาทตามวัตถุประสงค์ก็ตาม อ้างอิงตามฎีกา เลขที่ ๒๐๐๔/๒๕๔๔
6.การแสดงเจตนาอุทิศที่ดิน ไม่จำต้องมีนายอำเภอ หรือนายก อปท. ในกรณีที่ดินในกรุงเทพมหานครก็ไม่จำเป็นต้องมีกรุงเทพมหานคร กระทรวงมหาดไทย หรือกรมธนารักษ์แสดงเจตนารับ ก็มีผลสมบูรณ์แล้ว อ้างอิงตามฎีกาเลขที่ ๒๓๗๗/๒๕๔๙
7.การที่ผู้อุทิศที่ดิน กลับเข้ามาครอบครองที่ดินที่อุทิศไปแล้ว แม้จะกลับมาครอบครองนานเพียงใดก็ไม่ทำให้ที่ดินกลับมาเป็นของผู้อุทิศที่ดินนั้นอีก จะยกเอาอายุความต่อสู้กับแผ่นดิน ไม่ได้ อ้างอิงตามฎีกาเลขที่ ๒๖๔/๒๕๕๕
8.ผู้อุทิศที่ดินจะขอยกเลิกการอุทิศที่ดิน ไม่ได้ อ้างอิงตามฎีกาเลขที่ ๑๑๐๘๙/๒๕๕๖
9.เมื่อมีการอุทิศที่ดินให้เป็นสาธารณประโยชน์ แม้หน่วยงานราชการยังไม่ได้ใช้ประโยชน์ตามความประสงค์ของผู้อุทิศ หรือตามเงื่อนไขการอุทิศให้ก็ตาม ที่ดินนั้นก็ยังคงสภาพเป็นสาธารณสมบัติของแผ่นดิน อ้างอิงตามฎีกาเลขที่ ๒๐๐๔/๒๕๔๔
10.การอุทิศที่ดินให้เป็นสาธารณสมบัติของแผ่นดิน อาจกระทำ "โดยปริยาย" ก็ได้ เช่น ยินยอมให้ประชาชนใช้สอยโดยไม่หวงห้าม อ้างอิงฎีกาเลขที่ ๖๐๖๗/๒๕๕๒,๒๕๒๖/๒๕๔๐ แต่ต้องเป็นการยินยอมให้ประชาชนทั่วไปที่มิได้มีความสัมพันธ์ทางส่วนตัวกับเจ้าของ ไม่ว่าทางใดๆ
.
แสดงความคิดเห็น
คิดว่าคุณชูวทย์ ควรคืนที่ดินสวนสาธารณะให้ กทมมั้ยครับ แต่ผู้ว่าฯ ไม่ได้ออกมาทวงนะครับ