สมมติทำงานในบริษัทมา 10 ปี + และมีกองทุนสำรองเลี้ยงชีพ
กรณีให้ถูกออกจากงาน จะมีเงิน 2 ส่วน
1) เงินชดเชย ตาม กม. 300 วัน
2) เงินกองทุนสำรองเลี้ยงชีพ
เวลาคิดภาษี เราสามารถยื่นแยกภาษี
ในใบแนบ (แยกคำนวณจาก รายได้เงินเดือน ทั้งปี)
เท่าที่อ่านมา ก็จะมีสูตรคิดอยู่ หักค่าใช้จ่าย 7000 x อายุงาน และ หักต่อที่สองได้อีก 50% ตามตัวอย่างข้างล่าง
แต่ก็อ่านเจอว่า กองทุนสำรองเลี้ยงชีพ เราคงเงินไว้ก่อนก็ได้ ยังไม่ต้องเอาออกทันทีตอนออกจากงาน
ถ้าเราคงเงินไว้ในกองทุนก่อน แล้วค่อยไปเอาออกในปีหน้า
ปีภาษีที่จะถึงก็ยื่นแค่ ภงด.91 (เงินเดือน) + ใบแนบ (เงินชดเชย ตาม กม.)
ปีภาษีถัดไป ก็ยื่นแค่ ใบแนบ (เงินกองทุนสำรองเลี้ยงชีพ)
ที่อยากถามคือ จะใช้สูตรหักค่าใช้จ่าย 7000 x อายุงาน และ หักต่อที่สองได้อีก 50% ในใบแนบได้ทั้ง 2 รอบไหมครับ ???
บางคนได้เงินชดเชย กับ เงินสำรองเลี้ยงชีพเป็นก้อนใหญ่ 3-4 ล้านบาท
ถ้าเอาออกในปีเดียวกัน ก็จะเสียฐานภาษีเยอะอยู่ดีครับ (แม้จะหัก 50% แล้วก็ตาม)
ปล. ถ้าผมเขียนไม่เคลียร์ตรงไหน สอบถามได้นะครับ
ออกจากงานก่อนอายุ 55 สามารถเอาเงินกองทุนสำรองเลี้ยงชีพ กับ เงินชดเชย แยกคิดภาษีคนละปีได้หรือไม่
กรณีให้ถูกออกจากงาน จะมีเงิน 2 ส่วน
1) เงินชดเชย ตาม กม. 300 วัน
2) เงินกองทุนสำรองเลี้ยงชีพ
เวลาคิดภาษี เราสามารถยื่นแยกภาษีในใบแนบ (แยกคำนวณจาก รายได้เงินเดือน ทั้งปี)
เท่าที่อ่านมา ก็จะมีสูตรคิดอยู่ หักค่าใช้จ่าย 7000 x อายุงาน และ หักต่อที่สองได้อีก 50% ตามตัวอย่างข้างล่าง
แต่ก็อ่านเจอว่า กองทุนสำรองเลี้ยงชีพ เราคงเงินไว้ก่อนก็ได้ ยังไม่ต้องเอาออกทันทีตอนออกจากงาน
ถ้าเราคงเงินไว้ในกองทุนก่อน แล้วค่อยไปเอาออกในปีหน้า
ปีภาษีที่จะถึงก็ยื่นแค่ ภงด.91 (เงินเดือน) + ใบแนบ (เงินชดเชย ตาม กม.)
ปีภาษีถัดไป ก็ยื่นแค่ ใบแนบ (เงินกองทุนสำรองเลี้ยงชีพ)
ที่อยากถามคือ จะใช้สูตรหักค่าใช้จ่าย 7000 x อายุงาน และ หักต่อที่สองได้อีก 50% ในใบแนบได้ทั้ง 2 รอบไหมครับ ???
บางคนได้เงินชดเชย กับ เงินสำรองเลี้ยงชีพเป็นก้อนใหญ่ 3-4 ล้านบาท
ถ้าเอาออกในปีเดียวกัน ก็จะเสียฐานภาษีเยอะอยู่ดีครับ (แม้จะหัก 50% แล้วก็ตาม)
ปล. ถ้าผมเขียนไม่เคลียร์ตรงไหน สอบถามได้นะครับ