๔. โอกกันตสังยุต
๑. จักขุสูตร
ว่าด้วยสัทธานุสารีและธัมมานุสารีบุคคล
[๔๖๙] พระนครสาวัตถี. พระผู้มีพระภาคตรัสว่า ดูกรภิกษุทั้งหลาย
- จักษุ..ไม่เที่ยง....มีอันแปรปรวนเป็นอย่างอื่นเป็นธรรมดา
- หู......ไม่เที่ยง.....มีอันแปรปรวนเป็นอย่างอื่นเป็นธรรมดา
- จมูก...ไม่เที่ยง....มีอันแปรปรวนเป็นอย่างอื่นเป็นธรรมดา
- ลิ้น.....ไม่เที่ยง....มีอันแปรปรวนเป็นอย่างอื่นเป็นธรรมดา
- กาย...ไม่เที่ยง....มีอันแปรปรวนเป็นอย่างอื่นเป็นธรรมดา.
- ใจ......ไม่เที่ยง....มีอันแปรปรวนเป็นอย่างอื่นเป็นธรรมดา.
ดูกรภิกษุทั้งหลาย
ผู้ใดเชื่อมั่นไม่หวั่นไหวซึ่งธรรมเหล่านี้อย่างนี้
{โย ภิกฺขเว อิเม ธมฺเม เอวํ สทฺทหติ(เชื่อ) อธิมุจฺจติ(น้อมใจ..ดังนี้) ฯ}
{...ผู้ใดใครก็ตาม..ภิกษุ ท! , ในธรรมนี้
เชื่ออย่างนี้..น้อมใจ..ดังนี้..}👈👈👈👈
เรากล่าวผู้นี้ว่า สัทธานุสารี (อยํ วุจฺจติ สทฺธานุสารี)
ก้าวลงสู่สัมมัตตนิยาม ก้าวลงสู่สัปปุริสภูมิ ล่วงภูมิปุถุชน
ไม่ควรเพื่อทำกรรมที่บุคคลทำแล้วพึงเข้าถึงนรก กำเนิดสัตว์ดิรัจฉาน หรือปิตติวิสัย
ไม่ควรเพื่อทำกาละตราบเท่าที่ยังไม่ทำให้แจ้งซึ่งโสดาปัตติผล
ดูกรภิกษุทั้งหลาย
ธรรมเหล่านี้ ย่อมควรเพ่งด้วยปัญญา โดยประมาณอย่างนี้ แก่ผู้ใด.
{ ยสฺส โข ภิกฺขเว อิเม ธมฺมา เอวํ ปญฺญาย มตฺตโส นิชฺฌานํ ขมนฺติ ฯ}
{..สำหรับผู้ใดแล....ภิกษุ ท! , ในธรรมเหล่านี้..
มีปัญญาพอประมาณ..ในการทนเพ่ง..อย่างนี้..}👈👈👈👈
เราเรียกผู้นี้ว่า ธัมมานุสารี (อยํ วุจฺจติ ธมฺมานุสารี)
ก้าวลงสู่สัมมัตตนิยาม ก้าวลงสู่สัปปุริสภูมิ ล่วงภูมิปุถุชน
ไม่ควรเพื่อทำกรรมที่บุคคลทำแล้วพึงเข้าถึงนรก กำเนิดสัตว์ดิรัจฉาน หรือปิตติวิสัย
ไม่ควรเพื่อทำกาละตราบเท่าที่ยังไม่ทำให้แจ้งซึ่งโสดาปัตติผล.
ดูกรภิกษุทั้งหลาย
ผู้ใดรู้เห็นธรรมเหล่านี้อย่างนี้.
{ โย ภิกฺขเว อิเม ธมฺเม เอวํ ชานาติ เอวํ ปสฺสติ ฯ}
{..ผู้ใดใครก็ตาม....ภิกษุ ท! , ในธรรมนี้..
เข้าใจอย่างนี้..เห็นอย่างนี้..}👈👈👈👈
เรากล่าวผู้นี้ว่า...เป็นโสดาบัน(อยํ วุจฺจติ โสตาปนฺโน) 👈👈👈👈👈
มีความไม่ตกต่ำเป็นธรรมดา เป็นผู้เที่ยงที่จะตรัสรู้เป็นเบื้องหน้า.
จบ สูตรที่ ๑.
สรุป...
1. เรามาดูคำของพระศาสดาต่อคุณสมบัติของ....สัทธานุสารี-ธรรมานุสารี..และ โสดาบัน ดังนี้ ครับ
สัทธานุสารี:
ผู้ใดเชื่อมั่นไม่หวั่นไหวซึ่งธรรมเหล่านี้อย่างนี้
โย(ผู้ใด) ภิกฺขเว อิเม(เหล่านี้) ธมฺเม(ธรรม) เอวํ(อย่างนั้น) สทฺทหติ(เชื่อฟัง) อธิมุจฺจติ(น้อมใจ) ฯ
ผมจะตีความว่าอย่างนี้คือ...
อันนี้แค่มีความเชื่อและมีใจเชื่อว่า..ตา-หู-จมูก-ลิ้น-กาย-ใจ...นั้นเป็นของไม่เที่ยง..มีความแปรปรวนเป็นธรรมดา
ธรรมานุสารี:
ธรรมเหล่านี้ ย่อมควรเพ่งด้วยปัญญา โดยประมาณอย่างนี้ แก่ผู้ใด.
ยสฺส(ใด) โข(แล) ภิกฺขเว อิเม(เหล่านี้) ธมฺมา(ธรรม) เอวํ(อย่างนั้น) ปญฺญาย(ปัญญา) มตฺตโส (พอประมาณ) นิชฺฌานํ(เข้าใจ,ประจักษ์) ขมนฺติ(ทน) ฯ
ผมจะตีความว่าอย่างนี้คือ...
อันนี้ไม่ใช่แค่เชื่อแต่จะกำหนดตามไปเพ่งดูที่..ตา-หู-จมูก-ลิ้น-กาย-ใจ...ว่ามีอาการไม่เที่ยง..มีความแปรปรวนเป็นธรรมดา
พอเห็นตามนั้นก็เชื่อ...แต่เห็นเข้าใจแค่พอประมาณ(มตฺตโส)
โสดาบัน:
ผู้ใดรู้เห็นธรรมเหล่านี้อย่างนี้.
โย(ผู้ใด) ภิกฺขเว อิเม(เหล่านี้) ธมฺเม(ธรรม)
เอวํ(อย่างนั้น) ชานาติ(เข้าใจ) เอวํ(อย่างนั้น) ปสฺสติ(มองเห็น) ฯ
ผมจะตีความว่าอย่างนี้คือ...
อันนี้มีความเเข้มใจและเห็นเลยว่า..ตา-หู-จมูก-ลิ้น-กาย-ใจ...นั้นเป็นของไม่เที่ยง..มีความแปรปรวนเป็นธรรมดา
แต่ก็ยังละไม่ได้(อรหันต์เท่านั้นจะละได้)... แต่ก็ยังมีความพอใจ-มีฉันทะ-ราคะ-นันทิ-ตัณหา...
ใน..รูป-รส-กลิ่น-เสียง-สัมผัส-ธรรม(เวทนา,สัญญา,สังขาร)อยู่... แต่ก็เบาบางปุถุชน...
2. พระศาสดาท่านกล่าวว่า ผู้ที่มีใจเชื่อ(สัททานุสารี)...หรือ...ผู้ที่พิจารณาเห็น(ธรรมานุสารี)...2 บุคคลนี้นะ
ไม่ใช่ธรรมดาความเห็นต่างจากปุถุชน เพราะว่ามีความเห็นไปสู่ระบบความถูกต้องแล้ว
ระบบความถูกต้องก็คือ...เห็นสังขารทั้งหลายไม่เที่ยง-มีความแปรปรวนไปเป็นธรรมดา...
(..วโย ปญฺญายติ ฐิตสฺส อญฺญถตฺตํ ปญฺญายติ....)
3. ทั้ง สัททานุสารี..และ..ธรรมนุสารี ทั้ง 2 นี้ก็คือผู้ที่จะปฏิบัติไปสู่ความเป็นโสดาบัน
พระศาสดาท่านกล่าวว่า "
ไม่ควรเพื่อทำกาละตราบเท่าที่ยังไม่ทำให้แจ้งซึ่งโสดาปัตติผล "
คือจะได้โสดาบันก่อนตายนั่นเอง....
4. การที่จะเห็นได้ว่า " ตา-หู-จมูก-ลิ้น-กาย-ใจ...นั้นเป็นของไม่เที่ยง..มีความแปรปรวนเป็นธรรมดา "
ก็จะต้องรู้ว่ามันเป็นอย่างไร? มันทำงานอย่างไร? แล้วอย่างไร..ถึงว่าไม่เที่ยง?
มันเกิดมาอย่างไร? มันจะดับไปอย่างไร? มันมีรสอร่อยอย่างไร? มันมีโทษอย่างไร?
และการสลัดออกจากมันจะทำได้อย่างไร?
👇
สัตว์:..ผู้อริยสาวก-ผู้โสดาบัน..ตอนที่ 14 :..โสดาบันปัตติมรรค 2...กับ...โสดาบันปัตติผล
๔. โอกกันตสังยุต
๑. จักขุสูตร
ว่าด้วยสัทธานุสารีและธัมมานุสารีบุคคล
[๔๖๙] พระนครสาวัตถี. พระผู้มีพระภาคตรัสว่า ดูกรภิกษุทั้งหลาย
- จักษุ..ไม่เที่ยง....มีอันแปรปรวนเป็นอย่างอื่นเป็นธรรมดา
- หู......ไม่เที่ยง.....มีอันแปรปรวนเป็นอย่างอื่นเป็นธรรมดา
- จมูก...ไม่เที่ยง....มีอันแปรปรวนเป็นอย่างอื่นเป็นธรรมดา
- ลิ้น.....ไม่เที่ยง....มีอันแปรปรวนเป็นอย่างอื่นเป็นธรรมดา
- กาย...ไม่เที่ยง....มีอันแปรปรวนเป็นอย่างอื่นเป็นธรรมดา.
- ใจ......ไม่เที่ยง....มีอันแปรปรวนเป็นอย่างอื่นเป็นธรรมดา.
ดูกรภิกษุทั้งหลาย ผู้ใดเชื่อมั่นไม่หวั่นไหวซึ่งธรรมเหล่านี้อย่างนี้
{โย ภิกฺขเว อิเม ธมฺเม เอวํ สทฺทหติ(เชื่อ) อธิมุจฺจติ(น้อมใจ..ดังนี้) ฯ}
{...ผู้ใดใครก็ตาม..ภิกษุ ท! , ในธรรมนี้ เชื่ออย่างนี้..น้อมใจ..ดังนี้..}👈👈👈👈
เรากล่าวผู้นี้ว่า สัทธานุสารี (อยํ วุจฺจติ สทฺธานุสารี)
ก้าวลงสู่สัมมัตตนิยาม ก้าวลงสู่สัปปุริสภูมิ ล่วงภูมิปุถุชน
ไม่ควรเพื่อทำกรรมที่บุคคลทำแล้วพึงเข้าถึงนรก กำเนิดสัตว์ดิรัจฉาน หรือปิตติวิสัย
ไม่ควรเพื่อทำกาละตราบเท่าที่ยังไม่ทำให้แจ้งซึ่งโสดาปัตติผล
ดูกรภิกษุทั้งหลาย ธรรมเหล่านี้ ย่อมควรเพ่งด้วยปัญญา โดยประมาณอย่างนี้ แก่ผู้ใด.
{ ยสฺส โข ภิกฺขเว อิเม ธมฺมา เอวํ ปญฺญาย มตฺตโส นิชฺฌานํ ขมนฺติ ฯ}
{..สำหรับผู้ใดแล....ภิกษุ ท! , ในธรรมเหล่านี้.. มีปัญญาพอประมาณ..ในการทนเพ่ง..อย่างนี้..}👈👈👈👈
เราเรียกผู้นี้ว่า ธัมมานุสารี (อยํ วุจฺจติ ธมฺมานุสารี)
ก้าวลงสู่สัมมัตตนิยาม ก้าวลงสู่สัปปุริสภูมิ ล่วงภูมิปุถุชน
ไม่ควรเพื่อทำกรรมที่บุคคลทำแล้วพึงเข้าถึงนรก กำเนิดสัตว์ดิรัจฉาน หรือปิตติวิสัย
ไม่ควรเพื่อทำกาละตราบเท่าที่ยังไม่ทำให้แจ้งซึ่งโสดาปัตติผล.
ดูกรภิกษุทั้งหลาย ผู้ใดรู้เห็นธรรมเหล่านี้อย่างนี้.
{ โย ภิกฺขเว อิเม ธมฺเม เอวํ ชานาติ เอวํ ปสฺสติ ฯ}
{..ผู้ใดใครก็ตาม....ภิกษุ ท! , ในธรรมนี้.. เข้าใจอย่างนี้..เห็นอย่างนี้..}👈👈👈👈
เรากล่าวผู้นี้ว่า...เป็นโสดาบัน(อยํ วุจฺจติ โสตาปนฺโน) 👈👈👈👈👈
มีความไม่ตกต่ำเป็นธรรมดา เป็นผู้เที่ยงที่จะตรัสรู้เป็นเบื้องหน้า.
จบ สูตรที่ ๑.
สรุป...
1. เรามาดูคำของพระศาสดาต่อคุณสมบัติของ....สัทธานุสารี-ธรรมานุสารี..และ โสดาบัน ดังนี้ ครับ
สัทธานุสารี:
ผู้ใดเชื่อมั่นไม่หวั่นไหวซึ่งธรรมเหล่านี้อย่างนี้
โย(ผู้ใด) ภิกฺขเว อิเม(เหล่านี้) ธมฺเม(ธรรม) เอวํ(อย่างนั้น) สทฺทหติ(เชื่อฟัง) อธิมุจฺจติ(น้อมใจ) ฯ
ผมจะตีความว่าอย่างนี้คือ...อันนี้แค่มีความเชื่อและมีใจเชื่อว่า..ตา-หู-จมูก-ลิ้น-กาย-ใจ...นั้นเป็นของไม่เที่ยง..มีความแปรปรวนเป็นธรรมดา
ธรรมานุสารี:
ธรรมเหล่านี้ ย่อมควรเพ่งด้วยปัญญา โดยประมาณอย่างนี้ แก่ผู้ใด.
ยสฺส(ใด) โข(แล) ภิกฺขเว อิเม(เหล่านี้) ธมฺมา(ธรรม) เอวํ(อย่างนั้น) ปญฺญาย(ปัญญา) มตฺตโส (พอประมาณ) นิชฺฌานํ(เข้าใจ,ประจักษ์) ขมนฺติ(ทน) ฯ
ผมจะตีความว่าอย่างนี้คือ...อันนี้ไม่ใช่แค่เชื่อแต่จะกำหนดตามไปเพ่งดูที่..ตา-หู-จมูก-ลิ้น-กาย-ใจ...ว่ามีอาการไม่เที่ยง..มีความแปรปรวนเป็นธรรมดา
พอเห็นตามนั้นก็เชื่อ...แต่เห็นเข้าใจแค่พอประมาณ(มตฺตโส)
โสดาบัน:
ผู้ใดรู้เห็นธรรมเหล่านี้อย่างนี้.
โย(ผู้ใด) ภิกฺขเว อิเม(เหล่านี้) ธมฺเม(ธรรม) เอวํ(อย่างนั้น) ชานาติ(เข้าใจ) เอวํ(อย่างนั้น) ปสฺสติ(มองเห็น) ฯ
ผมจะตีความว่าอย่างนี้คือ...อันนี้มีความเเข้มใจและเห็นเลยว่า..ตา-หู-จมูก-ลิ้น-กาย-ใจ...นั้นเป็นของไม่เที่ยง..มีความแปรปรวนเป็นธรรมดา
แต่ก็ยังละไม่ได้(อรหันต์เท่านั้นจะละได้)... แต่ก็ยังมีความพอใจ-มีฉันทะ-ราคะ-นันทิ-ตัณหา...
ใน..รูป-รส-กลิ่น-เสียง-สัมผัส-ธรรม(เวทนา,สัญญา,สังขาร)อยู่... แต่ก็เบาบางปุถุชน...
2. พระศาสดาท่านกล่าวว่า ผู้ที่มีใจเชื่อ(สัททานุสารี)...หรือ...ผู้ที่พิจารณาเห็น(ธรรมานุสารี)...2 บุคคลนี้นะ
ไม่ใช่ธรรมดาความเห็นต่างจากปุถุชน เพราะว่ามีความเห็นไปสู่ระบบความถูกต้องแล้ว
ระบบความถูกต้องก็คือ...เห็นสังขารทั้งหลายไม่เที่ยง-มีความแปรปรวนไปเป็นธรรมดา...
(..วโย ปญฺญายติ ฐิตสฺส อญฺญถตฺตํ ปญฺญายติ....)
3. ทั้ง สัททานุสารี..และ..ธรรมนุสารี ทั้ง 2 นี้ก็คือผู้ที่จะปฏิบัติไปสู่ความเป็นโสดาบัน
พระศาสดาท่านกล่าวว่า " ไม่ควรเพื่อทำกาละตราบเท่าที่ยังไม่ทำให้แจ้งซึ่งโสดาปัตติผล "
คือจะได้โสดาบันก่อนตายนั่นเอง....
4. การที่จะเห็นได้ว่า " ตา-หู-จมูก-ลิ้น-กาย-ใจ...นั้นเป็นของไม่เที่ยง..มีความแปรปรวนเป็นธรรมดา "
ก็จะต้องรู้ว่ามันเป็นอย่างไร? มันทำงานอย่างไร? แล้วอย่างไร..ถึงว่าไม่เที่ยง?
มันเกิดมาอย่างไร? มันจะดับไปอย่างไร? มันมีรสอร่อยอย่างไร? มันมีโทษอย่างไร?
และการสลัดออกจากมันจะทำได้อย่างไร?
👇