๙. อริยสาวกสูตรที่ ๑
[๑๗๘] พระผู้มีพระภาคประทับอยู่ ณ พระเชตวัน อารามของท่านอนาถบิณฑิกเศรษฐี เขตพระนครสาวัตถี
ณ ที่นั้นแล ... พระผู้มีพระภาคได้ตรัสว่า
ดูกรภิกษุทั้งหลาย อริยสาวกผู้ได้สดับมิได้มีความสงสัยอย่างนี้ว่า
เมื่ออะไรมีอะไรจึงมีหรือหนอแล เพราะอะไรเกิดขึ้น อะไรจึงเกิดขึ้น
เมื่ออะไรมี นามรูปจึงมี
เมื่ออะไรมี สฬายตนะจึงมี
เมื่ออะไรมี ผัสสะจึงมี
เมื่อ อะไรมี เวทนาจึงมี
เมื่ออะไรมี ตัณหาจึงมี
เมื่ออะไรมี อุปาทานจึงมี
เมื่ออะไรมี ภพจึงมี
เมื่ออะไรมี ชาติจึงมี
เมื่ออะไรมี ชราและมรณะจึงมี ฯ
[๑๗๙]
ดูกรภิกษุทั้งหลาย โดยที่แท้ อริยสาวกผู้ได้สดับย่อมมีญาณหยั่งรู้ในเรื่องนี้
โดยไม่ต้องเชื่อผู้อื่นว่า เมื่อสิ่งนี้มี สิ่งนี้จึงมี เพราะสิ่งนี้เกิดขึ้นสิ่งนี้จึงเกิดขึ้น
เมื่อวิญญาณมี .....นามรูปจึงมี
เมื่อนามรูปมี ........สฬายตนะจึงมี
เมื่อสฬายตนะมี ...ผัสสะจึงมี
เมื่อผัสสะมี .........เวทนา จึงมี
เมื่อเวทนามี ........ตัณหาจึงมี
เมื่อตัณหามี ........อุปาทานจึงมี
เมื่ออุปาทานมี .....ภพจึงมี
เมื่อภพมี .............ชาติจึงมี
เมื่อชาติมี ...........ชราและมรณะจึงมี
อริยสาวกนั้นย่อมรู้ประจักษ์อย่างนี้ว่า โลกนี้ย่อมเกิดขึ้น อย่างนี้ ฯ <---(
อันนี้เรียกว่าโลกเกิด)
[๑๘๐]
ดูกรภิกษุทั้งหลาย อริยสาวกผู้ได้สดับ ย่อมไม่มีความสงสัยอย่างนี้ว่า
เมื่ออะไรไม่มี อะไรจึงไม่มีหรือหนอแล เพราะอะไรดับ อะไรจึงดับ
เมื่ออะไรไม่มี นามรูปจึงไม่มี
เมื่ออะไรไม่มี สฬายตนะจึงไม่มี
เมื่ออะไรไม่มี ผัสสะจึงไม่มี
เมื่ออะไรไม่มี เวทนาจึงไม่มี
เมื่ออะไรไม่มี ตัณหาจึงไม่มี
เมื่ออะไรไม่มี อุปาทานจึงไม่มี
เมื่ออะไรไม่มี ภพจึงไม่มี
เมื่ออะไรไม่มี ชาติจึงไม่มี
เมื่ออะไรไม่มี ชราและมรณะจึงไม่มี ฯ
[๑๘๑]
ดูกรภิกษุทั้งหลาย โดยที่แท้ อริยสาวกผู้ได้สดับย่อมมีญาณหยั่งรู้ในเรื่องนี้
โดยไม่ต้องเชื่อผู้อื่นว่า เมื่อสิ่งนี้ไม่มี สิ่งนี้จึงไม่มี เพราะสิ่งนี้ดับสิ่งนี้จึงดับ
เมื่อวิญญาณไม่มี......นามรูปจึงไม่มี
เมื่อนามรูปไม่มี........สฬายตนะจึงไม่มี
เมื่อสฬายตนะไม่มี...ผัสสะจึงไม่มี
เมื่อผัสสะไม่มี.........เวทนาจึงไม่มี
เมื่อเวทนาไม่มี.........ตัณหาจึงไม่มี
เมื่อตัณหาไม่มี.........อุปาทานจึงไม่มี
เมื่ออุปาทานไม่มี......ภพจึงไม่มี
เมื่อภพไม่มี.............ชาติจึงไม่มี
เมื่อชาติไม่มี ชราและมรณะจึงไม่มี
อริยสาวกนั้นย่อมรู้ประจักษ์อย่างนี้ว่า โลกนี้ย่อมดับ อย่างนี้ ฯ <---
(อันนี้เรียกว่าโลกดับ)
[๑๘๒] ดูกรภิกษุทั้งหลาย
ในกาลใดแล อริยสาวกรู้ทั่วถึงเหตุเกิดและความดับไป แห่งโลกตามเป็นจริงอย่างนี้
ในกาลนั้น อริยสาวกนี้ เราเรียกว่า...
- เป็นผู้สมบูรณ์ด้วยทิฐิบ้าง........( ทิฏฺฐิสมฺปนฺโน )
- เป็นผู้สมบูรณ์ด้วยทัศนะบ้าง....( ทสฺสนสมฺปนฺโน )
- เป็นผู้มาถึงสัทธรรมนี้บ้าง........( อาคโต อิมํ สทฺธมฺมํ )
- เป็นผู้เห็นสัทธรรมนี้บ้าง..........( ปสฺสติ อิมํ สทฺธมฺมํ )
- เป็นผู้ประกอบด้วยญาณอันเป็นเสขะบ้าง....( เสกฺเขน ญาเณน สมนฺนาคโต )
- เป็นผู้ประกอบด้วยวิชชาอันเป็นเสขะบ้าง....( เสกฺขาย วิชฺชาย สมนฺนาคโต )
- เป็นผู้บรรลุกระแสแห่งธรรมบ้าง.................( ธมฺมโสตํ สมาปนฺโน)
- เป็นพระอริยะมีปัญญาเครื่องชำแรกกิเลสบ้าง...( อริโย นิพฺเพธิกปญฺโญ )
- ว่าอยู่ชิดประตูอมตนิพพานบ้าง ฯ....( อมตทฺวารํ อาหจฺจ ติฏฺฐติ )
จบสูตรที่ ๙
https://etipitaka.com/read/thai/16/76/
สรุป...ตอนที่ 6..
1. คำว่า " อริยสาวกผู้ได้สดับ "---- สุตฺตวา อริยสาวโก ---นี่จะต้องมีการฟังพระสัทธรรมของพระศาสดา..นะ
ตัวเราลองสำรวจตัวเองดูซิว่า...พระสัทธรรมที่เรารู้เราเข้าใจนะ....ใช่ของพระศาสดาหรือเปล่า?
2. จากตอนที่ 5....โสดาบัน---พระองค์เรียกอีกอย่างหนึ่งว่า " ทิฏฺฐิสมฺปนฺโน " ----คือหมายเอาโสดาบัน..นั่นเอง
3. โลกเกิด...พระองค์ทรงแสดง...ปฏิจจสมุปปาท-สายเกิด และ โลกดับ...พระองค์ก็ทรงแสดง...ปฏิจจสมุปปาท-สายดับ
เมื่อเทียบกับพระสูตรในตอนที่แล้วอื่น โลกเกิด = ทุกข์เกิด โลกดับ = ทุกข์ดับ และ โลก = ทุกข์ นั่นเอง
4. โสดาบันจะเข้าใจ....ปฏิจจสมุปปาท ญาณ...ก็คือ...ความรู้ในปฏิจจสมุปปาท
รู้ว่าโลกจะเกิดอย่างไร...และ...จะดับไปอย่างไร
นี่หละเรียกว่า " ญาณ "..... ในพระสูตรอื่น....พระองค์จะกล่าวถึง ญาณวัตถุ44 และ ญาณวัตถุ77
...ซึ่งก็มีพื้นฐานมาจากปฏิจจมุปปาทนี่เอง แล้วจะเอามาแสดงต่อไป...ครับ
5. คำว่า " อริยสาวกผู้ได้สดับย่อมมีญาณหยั่งรู้ในเรื่องนี้โดยไม่ต้องเชื่อผู้อื่นว่า " <---- คำถามว่าเป็นอย่างไร.?..
ถึงไม่ต้องเชื่อผู้อื่น...ก็ในเมื่อคิดปฏิจจสมุปปาทเองไม่ได้.....ต้องฟังจากพระศาสดา....
และคำว่า " อริยสาวกผู้ได้สดับ --- สุตฺตวา อริยสาวโก "....ก็คือต้องฟังมา
6. เมื่อ..มีการกล่าวถึงปฏิจจสมุปปาทแล้ว.... การที่...เวทนาเกิด---แล้วทำให้เกิด--->อุปาทาน....
ผัสสะที่จะทำให้เกิดเวทนา...มันก็เกิดดับไปตลอดวันตลอดคืน
คราวนี้...หากเวทนาดับ-->ตัณหาก็ดับซิ <--- อ้าวตัณหาดับก็นิพพานซิ!!
อย่างนี้ก็นิพพานติดๆ-ดับๆซิ
สัตว์:..ผู้อริยสาวก-ผู้โสดาบัน..ตอนที่ 12 :..โสดาบันมีญาณหยั่งรู้เหตุให้เกิดขึ้น..และ..เหตุให้ดับไปของโลก
๙. อริยสาวกสูตรที่ ๑
[๑๗๘] พระผู้มีพระภาคประทับอยู่ ณ พระเชตวัน อารามของท่านอนาถบิณฑิกเศรษฐี เขตพระนครสาวัตถี
ณ ที่นั้นแล ... พระผู้มีพระภาคได้ตรัสว่า
ดูกรภิกษุทั้งหลาย อริยสาวกผู้ได้สดับมิได้มีความสงสัยอย่างนี้ว่า
เมื่ออะไรมีอะไรจึงมีหรือหนอแล เพราะอะไรเกิดขึ้น อะไรจึงเกิดขึ้น
เมื่ออะไรมี นามรูปจึงมี
เมื่ออะไรมี สฬายตนะจึงมี
เมื่ออะไรมี ผัสสะจึงมี
เมื่อ อะไรมี เวทนาจึงมี
เมื่ออะไรมี ตัณหาจึงมี
เมื่ออะไรมี อุปาทานจึงมี
เมื่ออะไรมี ภพจึงมี
เมื่ออะไรมี ชาติจึงมี
เมื่ออะไรมี ชราและมรณะจึงมี ฯ
[๑๗๙] ดูกรภิกษุทั้งหลาย โดยที่แท้ อริยสาวกผู้ได้สดับย่อมมีญาณหยั่งรู้ในเรื่องนี้
โดยไม่ต้องเชื่อผู้อื่นว่า เมื่อสิ่งนี้มี สิ่งนี้จึงมี เพราะสิ่งนี้เกิดขึ้นสิ่งนี้จึงเกิดขึ้น
เมื่อวิญญาณมี .....นามรูปจึงมี
เมื่อนามรูปมี ........สฬายตนะจึงมี
เมื่อสฬายตนะมี ...ผัสสะจึงมี
เมื่อผัสสะมี .........เวทนา จึงมี
เมื่อเวทนามี ........ตัณหาจึงมี
เมื่อตัณหามี ........อุปาทานจึงมี
เมื่ออุปาทานมี .....ภพจึงมี
เมื่อภพมี .............ชาติจึงมี
เมื่อชาติมี ...........ชราและมรณะจึงมี
อริยสาวกนั้นย่อมรู้ประจักษ์อย่างนี้ว่า โลกนี้ย่อมเกิดขึ้น อย่างนี้ ฯ <---(อันนี้เรียกว่าโลกเกิด)
[๑๘๐] ดูกรภิกษุทั้งหลาย อริยสาวกผู้ได้สดับ ย่อมไม่มีความสงสัยอย่างนี้ว่า
เมื่ออะไรไม่มี อะไรจึงไม่มีหรือหนอแล เพราะอะไรดับ อะไรจึงดับ
เมื่ออะไรไม่มี นามรูปจึงไม่มี
เมื่ออะไรไม่มี สฬายตนะจึงไม่มี
เมื่ออะไรไม่มี ผัสสะจึงไม่มี
เมื่ออะไรไม่มี เวทนาจึงไม่มี
เมื่ออะไรไม่มี ตัณหาจึงไม่มี
เมื่ออะไรไม่มี อุปาทานจึงไม่มี
เมื่ออะไรไม่มี ภพจึงไม่มี
เมื่ออะไรไม่มี ชาติจึงไม่มี
เมื่ออะไรไม่มี ชราและมรณะจึงไม่มี ฯ
[๑๘๑] ดูกรภิกษุทั้งหลาย โดยที่แท้ อริยสาวกผู้ได้สดับย่อมมีญาณหยั่งรู้ในเรื่องนี้
โดยไม่ต้องเชื่อผู้อื่นว่า เมื่อสิ่งนี้ไม่มี สิ่งนี้จึงไม่มี เพราะสิ่งนี้ดับสิ่งนี้จึงดับ
เมื่อวิญญาณไม่มี......นามรูปจึงไม่มี
เมื่อนามรูปไม่มี........สฬายตนะจึงไม่มี
เมื่อสฬายตนะไม่มี...ผัสสะจึงไม่มี
เมื่อผัสสะไม่มี.........เวทนาจึงไม่มี
เมื่อเวทนาไม่มี.........ตัณหาจึงไม่มี
เมื่อตัณหาไม่มี.........อุปาทานจึงไม่มี
เมื่ออุปาทานไม่มี......ภพจึงไม่มี
เมื่อภพไม่มี.............ชาติจึงไม่มี
เมื่อชาติไม่มี ชราและมรณะจึงไม่มี
อริยสาวกนั้นย่อมรู้ประจักษ์อย่างนี้ว่า โลกนี้ย่อมดับ อย่างนี้ ฯ <---(อันนี้เรียกว่าโลกดับ)
[๑๘๒] ดูกรภิกษุทั้งหลาย
ในกาลใดแล อริยสาวกรู้ทั่วถึงเหตุเกิดและความดับไป แห่งโลกตามเป็นจริงอย่างนี้
ในกาลนั้น อริยสาวกนี้ เราเรียกว่า...
- เป็นผู้สมบูรณ์ด้วยทิฐิบ้าง........( ทิฏฺฐิสมฺปนฺโน )
- เป็นผู้สมบูรณ์ด้วยทัศนะบ้าง....( ทสฺสนสมฺปนฺโน )
- เป็นผู้มาถึงสัทธรรมนี้บ้าง........( อาคโต อิมํ สทฺธมฺมํ )
- เป็นผู้เห็นสัทธรรมนี้บ้าง..........( ปสฺสติ อิมํ สทฺธมฺมํ )
- เป็นผู้ประกอบด้วยญาณอันเป็นเสขะบ้าง....( เสกฺเขน ญาเณน สมนฺนาคโต )
- เป็นผู้ประกอบด้วยวิชชาอันเป็นเสขะบ้าง....( เสกฺขาย วิชฺชาย สมนฺนาคโต )
- เป็นผู้บรรลุกระแสแห่งธรรมบ้าง.................( ธมฺมโสตํ สมาปนฺโน)
- เป็นพระอริยะมีปัญญาเครื่องชำแรกกิเลสบ้าง...( อริโย นิพฺเพธิกปญฺโญ )
- ว่าอยู่ชิดประตูอมตนิพพานบ้าง ฯ....( อมตทฺวารํ อาหจฺจ ติฏฺฐติ )
จบสูตรที่ ๙
https://etipitaka.com/read/thai/16/76/
สรุป...ตอนที่ 6..
1. คำว่า " อริยสาวกผู้ได้สดับ "---- สุตฺตวา อริยสาวโก ---นี่จะต้องมีการฟังพระสัทธรรมของพระศาสดา..นะ
ตัวเราลองสำรวจตัวเองดูซิว่า...พระสัทธรรมที่เรารู้เราเข้าใจนะ....ใช่ของพระศาสดาหรือเปล่า?
2. จากตอนที่ 5....โสดาบัน---พระองค์เรียกอีกอย่างหนึ่งว่า " ทิฏฺฐิสมฺปนฺโน " ----คือหมายเอาโสดาบัน..นั่นเอง
3. โลกเกิด...พระองค์ทรงแสดง...ปฏิจจสมุปปาท-สายเกิด และ โลกดับ...พระองค์ก็ทรงแสดง...ปฏิจจสมุปปาท-สายดับ
เมื่อเทียบกับพระสูตรในตอนที่แล้วอื่น โลกเกิด = ทุกข์เกิด โลกดับ = ทุกข์ดับ และ โลก = ทุกข์ นั่นเอง
4. โสดาบันจะเข้าใจ....ปฏิจจสมุปปาท ญาณ...ก็คือ...ความรู้ในปฏิจจสมุปปาท
รู้ว่าโลกจะเกิดอย่างไร...และ...จะดับไปอย่างไร
นี่หละเรียกว่า " ญาณ "..... ในพระสูตรอื่น....พระองค์จะกล่าวถึง ญาณวัตถุ44 และ ญาณวัตถุ77
...ซึ่งก็มีพื้นฐานมาจากปฏิจจมุปปาทนี่เอง แล้วจะเอามาแสดงต่อไป...ครับ
5. คำว่า " อริยสาวกผู้ได้สดับย่อมมีญาณหยั่งรู้ในเรื่องนี้โดยไม่ต้องเชื่อผู้อื่นว่า " <---- คำถามว่าเป็นอย่างไร.?..
ถึงไม่ต้องเชื่อผู้อื่น...ก็ในเมื่อคิดปฏิจจสมุปปาทเองไม่ได้.....ต้องฟังจากพระศาสดา....
และคำว่า " อริยสาวกผู้ได้สดับ --- สุตฺตวา อริยสาวโก "....ก็คือต้องฟังมา
6. เมื่อ..มีการกล่าวถึงปฏิจจสมุปปาทแล้ว.... การที่...เวทนาเกิด---แล้วทำให้เกิด--->อุปาทาน....
ผัสสะที่จะทำให้เกิดเวทนา...มันก็เกิดดับไปตลอดวันตลอดคืน
คราวนี้...หากเวทนาดับ-->ตัณหาก็ดับซิ <--- อ้าวตัณหาดับก็นิพพานซิ!!
อย่างนี้ก็นิพพานติดๆ-ดับๆซิ