เงินเฟ้อ มี 2 แบบ คือ แบบที่ผู้ใช้แรงงานได้ประโยชน์ กับ แบบที่เสียประโยชน์

กระทู้คำถาม
เงินเฟ้อแบบสูง สูงๆไปเลย สัก 80 - 100 % ชนิดที่ว่า ค่าเงินอ่อนลงมากๆ จะทำให้ค่าครองชีพโดยรวมถูกลง เพราะค่าแรง คิดเป็นยูเอส หารได้มากกว่าเดิม

เช่น ข้าวจานละ 50 บาท ค่าเงินบาท 33 บาท = 1.5 us dollar 
ค่าแรง 350 บาท = 10.6 us dollar

เทียบกับ

ข้าวจาน ละ 100 บาท ค่าเงินบาท 100 บาท =  1 us เท่ากับว่า ถูกลง 50 % 

ส่วนค่าแรง เนื่องจากเงินเฟ้อที่สูง + ศก ร้อนแรง  ค่าแรงจึงปรับขึ้นอีก 3 เท่าตัว โดยที่ แลกเป็นเงินยูเอสได้เท่าเดิม ต่อซื้อข้าวได้มากขึ้น คือ ประมาณ 10 จาน จากปกติ 5 จาน

เงินเฟ้อไทยตอนนี้ คือ 5-6 % แต่ราคาอาหาร ของสด คูณ 10 เข้าไป เศรษฐกิจก็โตช้า ค่าแรงขึ้นตามเงินเฟ้อ แต่ กลับเป็นว่า ค่าแรงที่แท้จริง ติดลบ เพราะค่าเงินแข็งเกินไป ดังนั้น ธนาคารกลางควรทำให้ค่าเงินอ่อนลงมาก โดยการกดดอกเบี้ยลง ติดลบ 1 % ให้ค่า เงินบาท เหลือ 200 บาท ต่อเหรียญ แล้วคนไทยจะทีกำลังซื้อมากขึ้น
แสดงความคิดเห็น
โปรดศึกษาและยอมรับนโยบายข้อมูลส่วนบุคคลก่อนเริ่มใช้งาน อ่านเพิ่มเติมได้ที่นี่