คนไทยกำลังเจอกับปัญหา Cost Push Inflation...
แอดหายไปนาน เพราะช่วงนี้ยุ่งมากๆ วันนี้เรามาลองอัพเดทราคาค่าครองชีพกันครับ
ทำไมเงินเฟ้อที่ ไทย กับที่ สหรัฐ ถึงต่างกัน!?
ในทางเศรษฐศาสตร์ "เงินเฟ้อ หรือ Inflation" มีอยู่ 2 ประเภทหลักๆ ได้แก่
✓ Cost Push Inflation
✓ Demand Pull Inflation
สองสิ่งนี้ต่างกันอย่างไร? แอดจะยกตัวอย่างง่ายๆแบบชาวบ้านเข้าใจได้ คือ
1) ตอนแรก หมู่บ้านแห่งนึง
✓ มีคนอยู่ 100 คน
✓ มีร้านอาหาร 1 ร้าน
ฝั่ง Supply
ต้นทุนข้าวแกงจานละ 20 บาท
ราคาขายจานละ 40 บาท
ปริมาณที่เตรียมขาย 100 จาน
ฝั่ง Demand
คนทั้งหมู่บ้านมี Budget ค่าอาหาร 4,000 บาท
กำลังซื้อต่อจาน 40 บาท
ปริมาณคนที่บริโภค 100 จาน
ทุกอย่างจะ Match กันหมด
เกิด "ภาวะสมดุลของราคา" หรือไม่มี Inflation
สรุป
✓ ร้านอาหารกำไร 2,000 บาท
✓ คนในหมู่บ้านกินอิ่มหมด
2) กรณีแรก Cost Push
✓ ราคาน้ำมันขึ้น
✓ ราคาข้าวขึ้น
✓ ราคาก๊าซขึ้น
✓ ราคาหมูขึ้น
ฝั่ง Supply
ต้นทุนข้าวแกงจานละ 30 บาท
ราคาขายเป็นจานละ 50 บาท (Cost Plus Pricing)
ปริมาณที่เตรียมขาย 100 จาน
ฝั่ง Demand
คนทั้งหมู่บ้านมี Budget ค่าอาหารเท่าเดิม 4,000 บาท
กำลังซื้อต่อจาน 50 บาท
ปริมาณที่ซื้อได้ 80 จาน
...แบบนี้เขาเรียกกันว่า Cost Push Inflation ซึ่งจะส่งผลเชิงลบต่อเศรษฐกิจโดยรวม
เพราะกลายเป็นว่า แทนที่คน 100 คนในหมู่บ้านจะได้กินข้าวครบทุกคน จะเหลือแค่ 80 คนเท่านั้นที่ได้กิน
เนื่องจากรายได้(Budget ที่ได้รับมา)ไม่เพิ่มขึ้น ซึ่งสุดท้าย จะทำให้ร้านอาหารขายได้ในปริมาณที่ต่ำลงสรุป
✓ ร้านอาหาร กำไรเหลือแค่ 1,600 บาท และต้องลดปริมาณการขายลงในอนาคต
✓ คนได้กินข้าวไม่ครบทุกคน...ยิ่งทำให้คนประหยัดมากขึ้น ใช้จ่ายลดลง
3) กรณีสอง Demand Pull
✓ เพิ่ม Budget จับเงินใส่คนในหมู่บ้านเป็น 5,000 บาท หรือคนทำอาชีพใหม่มีรายได้มากขึ้น
ฝั่ง Supply
ต้นทุนข้าวแกงจานละ 20 บาท
ราคาขายเป็นจานละ 50 บาท เพราะคนมีกำลังซื้อสูงขึ้น
ปริมาณที่เตรียมขาย 100 จาน
ฝั่ง Demand
คนทั้งหมู่บ้านมี Budget ค่าอาหาร 5,000 บาท
กำลังซื้อต่อจาน 40 บาท
ปริมาณที่ซื้อได้ 100 จาน...
แบบนี้แสดงว่า ประชาชน มีเงินเหลือ ซึ่งจะทำให้ร้านปรับราคาขึ้นได้เป็น 50 บาท เพื่อให้ Match กับ Demand ที่มากขึ้นจากกำลังซื้อของคน
หรือเรียกันว่า Demand Pull Inflation ซึ่งเป็นกลไกที่ส่งผลดีกับเศรษฐกิจ
สรุป
✓ ร้านอาหาร กำไรเพิ่มเป็น 3,000 บาท
✓ คนได้กินข้าวครบทุกคน...แม้ค่าครองชีพจะสูงขึ้นตามแต่ไม่รู้สึกลำบาก...
==========================================
กลับมาที่ปัจจุบัน "ปัญหาเงินเฟ้อ" ที่ไทยกับที่สหรัฐ เจอแตกต่างกันอย่างชัดเจน
ของสหรัฐ เป็นประเภท Demand Pull Inflation ซึ่งต้องจัดการให้เหมาะสมด้วยการขึ้นดอกเบี้ย ลด QE ลดกำลังซื้อของคน ไม่ให้เงินเฟ้อสูงยิ่งขึ้นไปมากกว่านี้จนคุมไม่อยู่
ในขณะที่ของไทย เป็นประเภท Cost Push Inflation ซึ่งไม่สามารถแก้ได้โดยการขึ้นดอกเบี้ย(เพราะยิ่งทำให้คนลำบากขึ้นไปอีก) แต่จะแก้ไขได้ต้องทำดังนี้
✓ ลดต้นทุนของสินค้า ให้ร้านขายราคาต่ำลง
✓ เพิ่มรายได้(กำลังซื้อ)ให้ประชาชน ให้กลับมาซื้อข้าว 100 จานได้เหมือนเดิม
ซึ่งการลดต้นทุน ทำได้ยากเพราะ สินค้าต้นทางหลายชนิดไปผูกกับราคาโลก (ที่โดน Demand Pull จนราคาขึ้นมาสูง) เช่น น้ำมัน ก๊าซ ปุ๋ย อาหารสัตว์ เหล็ก กระเบื้อง ไม้ และอย่างที่เราทราบกันว่ารัฐบาลไทยแทบควบคุมราคาสินค้าไม่เคยได้...และถ้าคุมได้ต้องควักเงินชดเชยจำนวนมาก
ส่วนการเพิ่มรายได้...ไม่ต้องอธิบายก็เห็นแล้วนะครับว่าคนละครึ่ง เราเที่ยวด้วยกัน ช่วยได้แค่ระยะสั้น...และต้องควักเงินชดเชยจำนวนมากเช่นเดียวกัน
แต่การสร้างรายได้ในระยะยาวแบบต่อเนื่องและเพียงพอที่จะสู้กับโครงสร้าง Cost Push Inflation ยังไม่ค่อยชัดเจนนัก...
หุ้นที่เหมือนจะได้ประโยชน์ อาจเป็นกลุ่มอาหารทดแทน หรือกลุ่มที่เฮโลขึ้นราคาขายตามเทรนด์ Cost Push Inflation โดยที่ตัวเองต้นทุนยังเท่าเดิม...
แต่คนที่เสียประโยชน์แน่นอน คือ คนไทยเกือบทุกคนครับ
แชร์ไว่อ่านทำความเข้าใจกันนะครับ ว่าเงินเฟ้อของเรา กับของสหรัฐ ต่างกันอย่างสิ้นเชิง...
#SoloInvestor
£££ เงินเฟ้อที่ไทยและ US มันไม่เหมือนกันเหรอฮะ เห็นเฟซนี้เค้าว่าไว้
แอดหายไปนาน เพราะช่วงนี้ยุ่งมากๆ วันนี้เรามาลองอัพเดทราคาค่าครองชีพกันครับ
ทำไมเงินเฟ้อที่ ไทย กับที่ สหรัฐ ถึงต่างกัน!?
ในทางเศรษฐศาสตร์ "เงินเฟ้อ หรือ Inflation" มีอยู่ 2 ประเภทหลักๆ ได้แก่
✓ Cost Push Inflation
✓ Demand Pull Inflation
สองสิ่งนี้ต่างกันอย่างไร? แอดจะยกตัวอย่างง่ายๆแบบชาวบ้านเข้าใจได้ คือ
1) ตอนแรก หมู่บ้านแห่งนึง
✓ มีคนอยู่ 100 คน
✓ มีร้านอาหาร 1 ร้าน
ฝั่ง Supply
ต้นทุนข้าวแกงจานละ 20 บาท
ราคาขายจานละ 40 บาท
ปริมาณที่เตรียมขาย 100 จาน
ฝั่ง Demand
คนทั้งหมู่บ้านมี Budget ค่าอาหาร 4,000 บาท
กำลังซื้อต่อจาน 40 บาท
ปริมาณคนที่บริโภค 100 จาน
ทุกอย่างจะ Match กันหมด
เกิด "ภาวะสมดุลของราคา" หรือไม่มี Inflation
สรุป
✓ ร้านอาหารกำไร 2,000 บาท
✓ คนในหมู่บ้านกินอิ่มหมด
2) กรณีแรก Cost Push
✓ ราคาน้ำมันขึ้น
✓ ราคาข้าวขึ้น
✓ ราคาก๊าซขึ้น
✓ ราคาหมูขึ้น
ฝั่ง Supply
ต้นทุนข้าวแกงจานละ 30 บาท
ราคาขายเป็นจานละ 50 บาท (Cost Plus Pricing)
ปริมาณที่เตรียมขาย 100 จาน
ฝั่ง Demand
คนทั้งหมู่บ้านมี Budget ค่าอาหารเท่าเดิม 4,000 บาท
กำลังซื้อต่อจาน 50 บาท
ปริมาณที่ซื้อได้ 80 จาน
...แบบนี้เขาเรียกกันว่า Cost Push Inflation ซึ่งจะส่งผลเชิงลบต่อเศรษฐกิจโดยรวม
เพราะกลายเป็นว่า แทนที่คน 100 คนในหมู่บ้านจะได้กินข้าวครบทุกคน จะเหลือแค่ 80 คนเท่านั้นที่ได้กิน
เนื่องจากรายได้(Budget ที่ได้รับมา)ไม่เพิ่มขึ้น ซึ่งสุดท้าย จะทำให้ร้านอาหารขายได้ในปริมาณที่ต่ำลงสรุป
✓ ร้านอาหาร กำไรเหลือแค่ 1,600 บาท และต้องลดปริมาณการขายลงในอนาคต
✓ คนได้กินข้าวไม่ครบทุกคน...ยิ่งทำให้คนประหยัดมากขึ้น ใช้จ่ายลดลง
3) กรณีสอง Demand Pull
✓ เพิ่ม Budget จับเงินใส่คนในหมู่บ้านเป็น 5,000 บาท หรือคนทำอาชีพใหม่มีรายได้มากขึ้น
ฝั่ง Supply
ต้นทุนข้าวแกงจานละ 20 บาท
ราคาขายเป็นจานละ 50 บาท เพราะคนมีกำลังซื้อสูงขึ้น
ปริมาณที่เตรียมขาย 100 จาน
ฝั่ง Demand
คนทั้งหมู่บ้านมี Budget ค่าอาหาร 5,000 บาท
กำลังซื้อต่อจาน 40 บาท
ปริมาณที่ซื้อได้ 100 จาน...
แบบนี้แสดงว่า ประชาชน มีเงินเหลือ ซึ่งจะทำให้ร้านปรับราคาขึ้นได้เป็น 50 บาท เพื่อให้ Match กับ Demand ที่มากขึ้นจากกำลังซื้อของคน
หรือเรียกันว่า Demand Pull Inflation ซึ่งเป็นกลไกที่ส่งผลดีกับเศรษฐกิจ
สรุป
✓ ร้านอาหาร กำไรเพิ่มเป็น 3,000 บาท
✓ คนได้กินข้าวครบทุกคน...แม้ค่าครองชีพจะสูงขึ้นตามแต่ไม่รู้สึกลำบาก...
==========================================
กลับมาที่ปัจจุบัน "ปัญหาเงินเฟ้อ" ที่ไทยกับที่สหรัฐ เจอแตกต่างกันอย่างชัดเจน
ของสหรัฐ เป็นประเภท Demand Pull Inflation ซึ่งต้องจัดการให้เหมาะสมด้วยการขึ้นดอกเบี้ย ลด QE ลดกำลังซื้อของคน ไม่ให้เงินเฟ้อสูงยิ่งขึ้นไปมากกว่านี้จนคุมไม่อยู่
ในขณะที่ของไทย เป็นประเภท Cost Push Inflation ซึ่งไม่สามารถแก้ได้โดยการขึ้นดอกเบี้ย(เพราะยิ่งทำให้คนลำบากขึ้นไปอีก) แต่จะแก้ไขได้ต้องทำดังนี้
✓ ลดต้นทุนของสินค้า ให้ร้านขายราคาต่ำลง
✓ เพิ่มรายได้(กำลังซื้อ)ให้ประชาชน ให้กลับมาซื้อข้าว 100 จานได้เหมือนเดิม
ซึ่งการลดต้นทุน ทำได้ยากเพราะ สินค้าต้นทางหลายชนิดไปผูกกับราคาโลก (ที่โดน Demand Pull จนราคาขึ้นมาสูง) เช่น น้ำมัน ก๊าซ ปุ๋ย อาหารสัตว์ เหล็ก กระเบื้อง ไม้ และอย่างที่เราทราบกันว่ารัฐบาลไทยแทบควบคุมราคาสินค้าไม่เคยได้...และถ้าคุมได้ต้องควักเงินชดเชยจำนวนมาก
ส่วนการเพิ่มรายได้...ไม่ต้องอธิบายก็เห็นแล้วนะครับว่าคนละครึ่ง เราเที่ยวด้วยกัน ช่วยได้แค่ระยะสั้น...และต้องควักเงินชดเชยจำนวนมากเช่นเดียวกัน
แต่การสร้างรายได้ในระยะยาวแบบต่อเนื่องและเพียงพอที่จะสู้กับโครงสร้าง Cost Push Inflation ยังไม่ค่อยชัดเจนนัก...
หุ้นที่เหมือนจะได้ประโยชน์ อาจเป็นกลุ่มอาหารทดแทน หรือกลุ่มที่เฮโลขึ้นราคาขายตามเทรนด์ Cost Push Inflation โดยที่ตัวเองต้นทุนยังเท่าเดิม...
แต่คนที่เสียประโยชน์แน่นอน คือ คนไทยเกือบทุกคนครับ
แชร์ไว่อ่านทำความเข้าใจกันนะครับ ว่าเงินเฟ้อของเรา กับของสหรัฐ ต่างกันอย่างสิ้นเชิง...
#SoloInvestor