เกริ่น ประเด็นสำคัญของเนื้อหาในบทความนี้คือ
1. รัฐบาลที่ไปทำสัญญากู้เงิน IMF คือ รัฐบาลชวลิต ที่มีทักษิณ ชินวัตร เป็นรองนายกฯ
2. รัฐบาลชวน หลีกภัย เริ่มทยอยใช้หนี้ IMF ไปบางส่วนตามกำหนด และต่อมาเศรษฐกิจไทยเริ่มฟื้นตัว ทำให้รัฐบาลชวนตัดสินใจไม่กู้เงินจากไอเอ็มเอฟให้เต็มวงเงินกู้ที่ทำไว้ในสัญญา จึงทำให้ระยะเวลาชำระหนี้สั้นลงและเร็วกว่ากำหนดเดิม 1 ปี
3. รัฐบาลทักษิณเข้ามาใช้หนี้ IMF ตามหน้าที่ต่อจากรัฐบาลชวน แต่สุดท้ายทักษิณกลับไปกู้เงินจากธนาคาร ADB ในอัตราดอกเบี้ยที่สูงกว่าอัตราดอกเบี้ย IMF หลายเท่า เพื่อนำมาใช้หนี้ IMF แต่ใช้หนี้เร็วกว่าเดิมแค่ไม่กี่เดือน เพื่อหวังเอาหน้า แต่กลับทำให้ไทยต้องเสียเงินมากขึ้นโดยใช่เหตุ
ส่วนรายละเอียดในเรื่องนี้ มีอยู่ในบทความด้านล่าง
--------------------------
(บทความยาวมาก ขอเตือน)
เถียงกันไปกันมา ต่างฝ่ายก็ต่างเชื่อในสิ่งที่ตัวเองอยากเชื่อ ฝ่ายฟายแดงเชื่อว่า ประชาธิปัตย์ไปกู้ไอเอ็มเอฟ และทักษิณคือคนใช้หนี้ไอเอ็มเอฟจนหมด ดังนั้นเรามาค่อย ๆ ดูความจริงทีละส่วน
ใครเป็นขอกู้ IMF ?
ตอบ รัฐบาลชวลิตเป็นผู้กู้IMF ในปี 1997 หรือพ.ศ. 2540 โดยนายทนง พิทยะ รมว.คลังในสมัยนั้น (และมีทักษิณ ชินวัตร เป็นรองนายกฯ ในสมัยนั้นด้วย) ตามเอกสารข้างล่างนี้
ฉะนั้นประเด็นใครกู้ไอเอ็มเอฟ คงเคลียร์แล้วนะครับ เอกสารจาก IMF ยืนยันความจริง
-------------
ใครปลดแอก IMF ?
คำตอบนี้ผมอยากให้คุณผู้อ่านอ่านบทความด้านล่างนี้โดยละเอียดก่อน และผมมีคำอธิบายแบบที่คุณคาดไม่ถึงในตอนท้ายอีกครั้ง
วิวาทะ "ปลดแอก" ไอเอ็มเอฟ
โดย นงนุช สิงหเดชะ
ไม่มีปี่มีขลุ่ย และดูเหมือน "ผิดจังหวะ" เพราะเลยไคลแม็กซ์ไปแล้ว กรณีที่ นายธารินทร์ นิมมานเหมินท์ อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลัง เพิ่งโผล่ออกมาตอบโต้เมื่อวันที่ 19 สิงหาคม ที่ผ่านมา เรื่องที่ว่าใครกันแน่เป็นผู้ "ปลดแอก" ไทยออกจากกองทุนการเงินระหว่างประเทศ(ไอเอ็มเอฟ)
ทำเอาหลายคนยังงงๆ อยู่เหมือนกันว่าทำไม "ประชาธิปัตย์" ช้าอีกแล้ว ไหนว่า "ปรับปรุงยุทธศาสตร์" ภายใต้ปฏิบัติการ "หัวหิน" ที่เป็นโฉมใหม่ของพรรคไปแล้ว
ไคลแม็กซ์ และจุดเหมาะสม ในการตอบโต้เรื่องนี้ น่าจะอยู่ในช่วงวันที่ 1 หรือ 2 สิงหาคม เนื่องเพราะ ณ วันที่ 31 กรกฎาคม 2546 พ.ต.ท.ทักษิณ ชินวัตร นายกรัฐมนตรี ได้ออกโทรทัศน์รวมการเฉพาะกิจ อย่างยิ่งใหญ่ ประกาศว่า รัฐบาลได้ชำระหนี้ก้อนสุดท้ายประมาณ 1,600 ล้านดอลลาร์สหรัฐ หรือประมาณ 60,000 ล้านบาท ให้กับไอเอ็มเอฟไป ความและนัย ก็คือ การแสดง และป่าวประกาศว่า รัฐบาลไทยรักไทย เป็นผู้ "ปลดแอก" ไทยออกจากไอเอ็มเอฟนั่นเอง
ที่มา.
http://newake.blogspot.com/2013/08/imf-imf.html?m=1
ใครกู้ IMF ใครปลดแอก IMF ใครผลาญเงินเอาหน้า ?
1. รัฐบาลที่ไปทำสัญญากู้เงิน IMF คือ รัฐบาลชวลิต ที่มีทักษิณ ชินวัตร เป็นรองนายกฯ
2. รัฐบาลชวน หลีกภัย เริ่มทยอยใช้หนี้ IMF ไปบางส่วนตามกำหนด และต่อมาเศรษฐกิจไทยเริ่มฟื้นตัว ทำให้รัฐบาลชวนตัดสินใจไม่กู้เงินจากไอเอ็มเอฟให้เต็มวงเงินกู้ที่ทำไว้ในสัญญา จึงทำให้ระยะเวลาชำระหนี้สั้นลงและเร็วกว่ากำหนดเดิม 1 ปี
3. รัฐบาลทักษิณเข้ามาใช้หนี้ IMF ตามหน้าที่ต่อจากรัฐบาลชวน แต่สุดท้ายทักษิณกลับไปกู้เงินจากธนาคาร ADB ในอัตราดอกเบี้ยที่สูงกว่าอัตราดอกเบี้ย IMF หลายเท่า เพื่อนำมาใช้หนี้ IMF แต่ใช้หนี้เร็วกว่าเดิมแค่ไม่กี่เดือน เพื่อหวังเอาหน้า แต่กลับทำให้ไทยต้องเสียเงินมากขึ้นโดยใช่เหตุ
ส่วนรายละเอียดในเรื่องนี้ มีอยู่ในบทความด้านล่าง
--------------------------
(บทความยาวมาก ขอเตือน)
เถียงกันไปกันมา ต่างฝ่ายก็ต่างเชื่อในสิ่งที่ตัวเองอยากเชื่อ ฝ่ายฟายแดงเชื่อว่า ประชาธิปัตย์ไปกู้ไอเอ็มเอฟ และทักษิณคือคนใช้หนี้ไอเอ็มเอฟจนหมด ดังนั้นเรามาค่อย ๆ ดูความจริงทีละส่วน
ใครเป็นขอกู้ IMF ?
ตอบ รัฐบาลชวลิตเป็นผู้กู้IMF ในปี 1997 หรือพ.ศ. 2540 โดยนายทนง พิทยะ รมว.คลังในสมัยนั้น (และมีทักษิณ ชินวัตร เป็นรองนายกฯ ในสมัยนั้นด้วย) ตามเอกสารข้างล่างนี้
ฉะนั้นประเด็นใครกู้ไอเอ็มเอฟ คงเคลียร์แล้วนะครับ เอกสารจาก IMF ยืนยันความจริง
-------------
ใครปลดแอก IMF ?
คำตอบนี้ผมอยากให้คุณผู้อ่านอ่านบทความด้านล่างนี้โดยละเอียดก่อน และผมมีคำอธิบายแบบที่คุณคาดไม่ถึงในตอนท้ายอีกครั้ง
วิวาทะ "ปลดแอก" ไอเอ็มเอฟ
โดย นงนุช สิงหเดชะ
ไม่มีปี่มีขลุ่ย และดูเหมือน "ผิดจังหวะ" เพราะเลยไคลแม็กซ์ไปแล้ว กรณีที่ นายธารินทร์ นิมมานเหมินท์ อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลัง เพิ่งโผล่ออกมาตอบโต้เมื่อวันที่ 19 สิงหาคม ที่ผ่านมา เรื่องที่ว่าใครกันแน่เป็นผู้ "ปลดแอก" ไทยออกจากกองทุนการเงินระหว่างประเทศ(ไอเอ็มเอฟ)
ทำเอาหลายคนยังงงๆ อยู่เหมือนกันว่าทำไม "ประชาธิปัตย์" ช้าอีกแล้ว ไหนว่า "ปรับปรุงยุทธศาสตร์" ภายใต้ปฏิบัติการ "หัวหิน" ที่เป็นโฉมใหม่ของพรรคไปแล้ว
ไคลแม็กซ์ และจุดเหมาะสม ในการตอบโต้เรื่องนี้ น่าจะอยู่ในช่วงวันที่ 1 หรือ 2 สิงหาคม เนื่องเพราะ ณ วันที่ 31 กรกฎาคม 2546 พ.ต.ท.ทักษิณ ชินวัตร นายกรัฐมนตรี ได้ออกโทรทัศน์รวมการเฉพาะกิจ อย่างยิ่งใหญ่ ประกาศว่า รัฐบาลได้ชำระหนี้ก้อนสุดท้ายประมาณ 1,600 ล้านดอลลาร์สหรัฐ หรือประมาณ 60,000 ล้านบาท ให้กับไอเอ็มเอฟไป ความและนัย ก็คือ การแสดง และป่าวประกาศว่า รัฐบาลไทยรักไทย เป็นผู้ "ปลดแอก" ไทยออกจากไอเอ็มเอฟนั่นเอง
ที่มา. http://newake.blogspot.com/2013/08/imf-imf.html?m=1