💛มาลาริน💛เยี่ยมเลยค่ะรัฐบาลลุงตู่...ดัชนีความยากจนหลายมิติ ปี65 ไทยมีดัชนีต่ำสุดในกลุ่มอาเซียน


รายงานดังกล่าวนำเสนอดัชนีความยากจนหลายมิติของประเทศกำลังพัฒนา 111 ประเทศทั่วโลก โดยใช้เรื่องสำคัญ 10 เรื่องเป็นตัวชี้วัด ได้แก่... 👇

ภาวะโภชนาการ (nutrition)
การตายของเด็กแรกเกิด (child mortality)
ระยะเวลาในการศึกษาสำเร็จ (years in schooling)
การเข้าเรียน (school attendance)
เชื้อเพลิงประกอบอาหาร (cooking fuel)
การสุขาภิบาล (sanitation)
น้ำดื่ม (drinking water) 
ไฟฟ้า (electricity)
ที่อยู่อาศัย (housing)
และการครอบครองสินทรัพย์ (asset)

👉โดยค่าดัชนีที่ต่ำลงหมายถึงระดับความยากจนที่ลดลง

สำหรับดัชนีความยากจนหลายมิติของประเทศไทยอยู่ที่ 0.002 ขณะที่ประเทศในกลุ่มอาเซียนที่ปรากฏอยู่ในรายงานฉบับเดียวกันทั้งหมดมีดัชนีที่สูงกว่าไทย ได้แก่...👇

เมียนมาร์ อยู่ที่ 0.176 กัมพูชา อยู่ที่ 0.170 ลาว อยู่ที่  0.108 ฟิลิปปินส์ อยู่ที่ 0.24 อินโดนีเซีย 0.014
เเละเวียดนาม 0.008

แหล่งที่มา: 2022 Global Multidimensional Poverty Index (MPI) (UNDP)


ต้องปรบมือให้รัฐบาลลุงตู่ที่สามารถทำให้ดัชนีความยากจนหลายมิติลดลง


แต่กีบแดง กีบส้มจะไม่ย้อมมมม  ไม่ยอมม

น่าสงสารคนพวกนี้จัง  คลั่งกับเรื่องดีๆที่รัฐบาลทำได้

ความยากจนไทยหลายมิติลดลงจริง

คนไทยพ้นความยากจนจากระดับแล้ว

👇👇👇👇👇👇👇

ผลงานในระหว่างปี 2560-2565 รัฐบาล พล.อ.ประยุทธ์ จันทร์โอชา ยังมุ่งมั่นแก้ปัญหาคนจนโดยใช้ Big data และระบบวิเคราะห์ข้อมูลแบบชี้เป้า โดยอ้างอิงฐานข้อมูลการพัฒนาคนแบบชี้เป้า (Thai People Map and Analytics Platform: TPMAP) โดยข้อมูลการสำรวจนี้จะแตกต่างจากสำนักงานสถิติแห่งชาติ เป็นการนำข้อมูลคนที่ลงทะเบียนบัตรสวัสดิการแห่งรัฐมาตรวจสอบและลงพื้นที่โดยเจ้าหน้าที่เพื่อสำรวจสอบถามถึงความรุนแรงของปัญหาตามเกณฑ์ข้อมูลความจำเป็นพื้นฐานของกระทรวงมหาดไทย เช่น ในปี 2560 พบมีคนจน 1,702,499 คน จากการสำรวจ 35,999,061 คน 


และล่าสุด “คนจนเป้าหมาย” ณ วันที่ 25 ม.ค. 2565 ในประเทศไทย ที่ต้องการความช่วยเหลือเร่งด่วนเหลือเพียง 1,025,782 คน จากการสำรวจ 36,103,806 คน และเมื่อแบ่งมิติปัญหาที่ต้องช่วยเร่งด่วนพบว่า...👇

1. ด้านสุขภาพ 218,757 คน
2. ด้านความเป็นอยู่ 220,037 คน
3. ด้านการศึกษา 272,518 คน
4. ด้านรายได้ 506,647 คน
5. ด้านเข้าถึงบริการภาครัฐ 3,335 คน

ดังนั้นจะเห็นได้ว่าไม่ว่าจะสถิติจากตัวชี้วัดใดทั้ง สำนักงานสถิติแห่งชาติ หรือ TPMAP จำนวนคนจนได้ลดลงต่อเนื่อง ยิ่งในช่วงการแก้ปัญหาความยากจนภายใต้การนำของ พล.อ.ประยุทธ์ จันทร์โอชา จะเห็นว่าจำนวนลดลงไปหลายล้านคน

ดังนั้นจากยอดการลงทะเบียน 22,293,473 ราย ที่ยื่นลงทะเบียนบัตรสวัสดิการแห่งรัฐปี 2565 จึงไม่ใช่จำนวน ‘คนจน’ ทั้งหมด แต่ด้วยเงื่อนไขที่เปิดโอกาสให้คนที่มีรายได้ไม่เกิน 100,000 บาท/คน/ปี หรือแม้แต่ผู้มีบ้าน มีวงเงินกู้สำหรับที่อยู่อาศัยรวมไม่เกิน 1.5 ล้านบาท และมีเงินกู้สำหรับยานพาหนะรวมไม่เกิน 1 ล้านบาท ลงทะเบียนบัตรสวัสดิการแห่งรัฐได้ แต่หากรัฐบาลเลือกใช้เส้นความยากจนเป็นเกณฑ์ กำหนดรายได้ 33,624 บาท/คน/ปี หรือ 2,802 บาทต่อคน/ต่อเดือน จะทำให้การลงทะเบียนมีจำนวนลดลงทันที

เราเห็นด้วยที่ไม่ควรตีตรา ผู้มีบัตรสวัสดิการแห่งรัฐว่าเป็น “คนจน” เพราะเป็นสวัสดิการที่รัฐต้องให้การดูแล ให้พวกเขามีสวัสดิการและมีศักดิ์ศรี ลดเหลื่อมล้ำ ฉะนั้นควรถึงเวลาวาทกรรมบัตรคนจน



ลุงเก่งอย่างนี้นี่เองค่ะ  ทำให้กีบแดง กีบส้ม ร้องกรี๊ดเพราะอิจฉาได้ทุกวัน

คำตอบที่ได้รับเลือกจากเจ้าของกระทู้
ความคิดเห็นที่ 11
ผลงานดีเป็นที่ประจักษ์ ชาวบ้านเขาสัมผัสได้
แสดงความคิดเห็น
โปรดศึกษาและยอมรับนโยบายข้อมูลส่วนบุคคลก่อนเริ่มใช้งาน อ่านเพิ่มเติมได้ที่นี่