มีเคสนึง ระหว่าง คนไข้กำลังใช้เครื่องพ่นหายใจ ขยายหลอดลม ระหว่างทางเกิด ไอ แล้วมี เสมหะเหนียวๆออกมา คนไข้จึงทำการบ้วนทิ้งเสมหะออกมา ใส่ถุงที่เตรียมไว้..
บังเอิญ มีพยาบาลคนนึงมาเห็นและบอกให้คนไข้กลืนเสมหะคืนลงท้อง โดยให้เหตุผล ถ้าขาก / บ้วนทิ้งจะยิ่งทำให้หอบมากขึ้น...
แต่คนไข้ชี้แจงว่า พยายามทำตามคือกลืนลงท้อง แต่ร่างกายสั่งให้ขาก /บ้วนทิ้ง. สุดท้ายต้องขาก / บ้วนทิ้ง เพื่อลดอาการหอบ ( ตอนบ้วนทิ้งใหม่ มีอาการบ้าง หลังจากนั้น ก็คืนสู่ปกติ คือ ทรงตัว ให้เครื่องพ่น ทำงานต่อไป...
อยากรู้ว่า... ตกลง ทฤษฎี ให้กลืนน้ำลาย ของเสียที่ร่างกายพยายามขับออกมา
( เหนียวๆไสๆ ขุ่นๆ อาจมีเหลืองๆปนบางครั้ง )
- ให้กลืนคือถูกต้องไหม. ???
- แล้วมีเอกสารยืนยันไหม ว่าสามารถให้กลืนของเสียที่ขับออกมาคืนกระเพาะอาหารได้
* ส่วนตัวเชื่อว่า ทฤษฎีนี้ ไม่น่าจะถูกต้องนะ ในการกลืนของเสีย (เสมหะที่ร่างกายพยายามขับทิ้งออกมา กลืนคืนลงกระเพาะ )
🤔
เครื่องช่วยหายใจ กับเสมหะที่หลั่งออกมาจากการไอ ( ที่ทุกคนอาจต้องเผชิญ)
บังเอิญ มีพยาบาลคนนึงมาเห็นและบอกให้คนไข้กลืนเสมหะคืนลงท้อง โดยให้เหตุผล ถ้าขาก / บ้วนทิ้งจะยิ่งทำให้หอบมากขึ้น...
แต่คนไข้ชี้แจงว่า พยายามทำตามคือกลืนลงท้อง แต่ร่างกายสั่งให้ขาก /บ้วนทิ้ง. สุดท้ายต้องขาก / บ้วนทิ้ง เพื่อลดอาการหอบ ( ตอนบ้วนทิ้งใหม่ มีอาการบ้าง หลังจากนั้น ก็คืนสู่ปกติ คือ ทรงตัว ให้เครื่องพ่น ทำงานต่อไป...
อยากรู้ว่า... ตกลง ทฤษฎี ให้กลืนน้ำลาย ของเสียที่ร่างกายพยายามขับออกมา
( เหนียวๆไสๆ ขุ่นๆ อาจมีเหลืองๆปนบางครั้ง )
- ให้กลืนคือถูกต้องไหม. ???
- แล้วมีเอกสารยืนยันไหม ว่าสามารถให้กลืนของเสียที่ขับออกมาคืนกระเพาะอาหารได้
* ส่วนตัวเชื่อว่า ทฤษฎีนี้ ไม่น่าจะถูกต้องนะ ในการกลืนของเสีย (เสมหะที่ร่างกายพยายามขับทิ้งออกมา กลืนคืนลงกระเพาะ )
🤔