Player Option:
คือสัญญาปีสุดท้ายที่ผู้เล่นเลือกได้ว่าจะอยู่ต่อหรือย้ายออก
Team Option:
ต้นสังกัดจะเป็นคนตัดสินเองว่าจะให้อยู่ต่อไหม
John Wall เป็นคนนึงที่มี team option กับ Clippers ในปี 2023 ถ้าฤดูกาลนี้เล่นไม่ดี Clippers สามารถยกเลิกสัญญาปีที่ 2 ได้โดยที่ไม่ต้องจ่ายค่าชดเชยเเต่ถ้าเล่นดีจะได้อยู่ต่อ
Full-bird:
ใช้กับคนที่อยู่กับทีมนั้นมานานอย่างน้อย 3 ฤดูกาลโดยสามารถจ่ายเรท max ได้ถ้าต้องการเเละต่อได้สูงสุด 5 ปีโดยจะมีค่าเหนื่อยเพิ่มขึ้นปีละ 8%
Kevon Looney ของ Warriors เป็นคนนึงที่เพิ่งต่อเเบบ Full-bird เเต่ไม่ได้เรท max
Early Bird:
ใช้กับคนที่อยู่กับทีมนั้นไม่เกิน 2 ฤดูกาลโดยค่าจ้างสูงสุดจะไม่เกิน 175% ของเรทปัจจุบันเเละต้องเซ็นนาน 2-4 ปี
คนที่เพิ่งต่อเเบบ early bird ก็เช่น Nicolas Batum ของ Clippers
Non-Bird:
ใช้ต่อกับคนที่อยู่กับทีมไม่ถึง 2 ฤดูกาลเเละต่อได้สูงสุดไม่เกิน 120% ของค่าจ้างปัจจุบันโดยเซ็นได้ 1-4 ปี
Malik Monk ไม่อยากได้เรท non-bird จาก Lakers เลยย้ายหนีไปอยู่ Kings ที่จ่ายมากกว่าเเทน
Bi-Annual Exception:
ใช้กับทีมที่ยังใช้เงินไม่ถึงเส้น tax เท่านั้นเเละงบนี้ใช้ได้เเบบปีเว้นปี ถ้าใช้ปีนี้ ปีหน้าห้ามใช้
Taxpayer MLE:
คืองบที่ใช้ได้กับทีมที่ใช้เงินเกินเส้น tax ไปเเล้วโดยค่าเหนื่อยจะอยู่ที่ $6.4 ล้านต่อปีเเละเซ็นได้สูงสุดไม่เกิน 3 ปี
Non-Taxpayer MLE:
ใช้กับทีมที่ใช้เงินไม่เกินเส้น tax โดยตัวเลขอยู่ที่ $10.4 ล้านต่อปีเเละเซ็นได้ไม่เกิน 4 ปี
Rookie Exception:
คืองบที่เอาไปเซ็นจ้างรุกกี้ที่มาจาก draft รอบเเรกเเบบทะลุเเคปได้
Minimum-Salary Exception:
เอาไปจ้างคนที่มีค่าเหนื่อยขั้นตํ่าได้ถึงเเม้จะใช้เงินทะลุเเคปไปเเล้วก็ตามโดยเซ็นได้ไม่เกิน 2 ปี
Credit: Hoops Rumors
🏀 อธิบาย 10 คําศัพท์ใน NBA
คือสัญญาปีสุดท้ายที่ผู้เล่นเลือกได้ว่าจะอยู่ต่อหรือย้ายออก
Team Option:
ต้นสังกัดจะเป็นคนตัดสินเองว่าจะให้อยู่ต่อไหม
John Wall เป็นคนนึงที่มี team option กับ Clippers ในปี 2023 ถ้าฤดูกาลนี้เล่นไม่ดี Clippers สามารถยกเลิกสัญญาปีที่ 2 ได้โดยที่ไม่ต้องจ่ายค่าชดเชยเเต่ถ้าเล่นดีจะได้อยู่ต่อ
Full-bird:
ใช้กับคนที่อยู่กับทีมนั้นมานานอย่างน้อย 3 ฤดูกาลโดยสามารถจ่ายเรท max ได้ถ้าต้องการเเละต่อได้สูงสุด 5 ปีโดยจะมีค่าเหนื่อยเพิ่มขึ้นปีละ 8%
Kevon Looney ของ Warriors เป็นคนนึงที่เพิ่งต่อเเบบ Full-bird เเต่ไม่ได้เรท max
Early Bird:
ใช้กับคนที่อยู่กับทีมนั้นไม่เกิน 2 ฤดูกาลโดยค่าจ้างสูงสุดจะไม่เกิน 175% ของเรทปัจจุบันเเละต้องเซ็นนาน 2-4 ปี
คนที่เพิ่งต่อเเบบ early bird ก็เช่น Nicolas Batum ของ Clippers
Non-Bird:
ใช้ต่อกับคนที่อยู่กับทีมไม่ถึง 2 ฤดูกาลเเละต่อได้สูงสุดไม่เกิน 120% ของค่าจ้างปัจจุบันโดยเซ็นได้ 1-4 ปี
Malik Monk ไม่อยากได้เรท non-bird จาก Lakers เลยย้ายหนีไปอยู่ Kings ที่จ่ายมากกว่าเเทน
Bi-Annual Exception:
ใช้กับทีมที่ยังใช้เงินไม่ถึงเส้น tax เท่านั้นเเละงบนี้ใช้ได้เเบบปีเว้นปี ถ้าใช้ปีนี้ ปีหน้าห้ามใช้
Taxpayer MLE:
คืองบที่ใช้ได้กับทีมที่ใช้เงินเกินเส้น tax ไปเเล้วโดยค่าเหนื่อยจะอยู่ที่ $6.4 ล้านต่อปีเเละเซ็นได้สูงสุดไม่เกิน 3 ปี
Non-Taxpayer MLE:
ใช้กับทีมที่ใช้เงินไม่เกินเส้น tax โดยตัวเลขอยู่ที่ $10.4 ล้านต่อปีเเละเซ็นได้ไม่เกิน 4 ปี
Rookie Exception:
คืองบที่เอาไปเซ็นจ้างรุกกี้ที่มาจาก draft รอบเเรกเเบบทะลุเเคปได้
Minimum-Salary Exception:
เอาไปจ้างคนที่มีค่าเหนื่อยขั้นตํ่าได้ถึงเเม้จะใช้เงินทะลุเเคปไปเเล้วก็ตามโดยเซ็นได้ไม่เกิน 2 ปี