หลังจาก ที่กฎกระทรวงฉบับใหม่ ได้มีการกำหนดความเร็วในทางด่วนพิเศษ ให้รถยนต์วิ่งได้ไม่เกิน 100 kmph ตั้งแต่ 22 ก.ค. ที่ผ่านมา
(อ้างอิงตามเว็บการทางพิเศษแห่งประเทศไทย
https://www.exat.co.th/law-of-limited-speed-on-expressway-22072565/)
กำหนดความเร็ว “ทางยกระดับ”
รถยนต์ 4 ล้อ ไม่เกิน 100 กม./ชม.
รถบรรทุก (>2.2 ตัน) และ รถโดยสาร (>15 คน) ไม่เกิน 80 กม./ชม.
รถโรงเรียน-รับส่งนักเรียน ไม่เกิน 80 กม./ชม.
กำหนดความเร็ว “ระดับดิน”
รถยนต์ 4 ล้อ ไม่เกิน 110 กม./ชม.
รถบรรทุก (>2.2 ตัน) และ รถโดยสาร (>15 คน) ไม่เกิน 90 กม./ชม.
รถโรงเรียน-รับส่งนักเรียน ไม่เกิน 90 กม./ชม.
จากข้อมูลดังกล่ว จึงอยากถามความเห็นเพื่อนๆ กันว่า ทำไม ถึงปรับให้ทางด่วนใช้ความเร็วได้ต่ำกว่าทางราบ?
ทั้งที่เสียเงิน เพื่อให้ทำความเร็วไปได้ถึงที่หมายได้รวดเร็วกว่า ตามที่เรียกชื่อว่า "ทางด่วน" ซึ่งส่วนตัวผมคิดว่าทางอ้างเรื่องความปลอดภัย ไม่ว่าทางไหนก็ตามควรจำกัดความเร็วที่เท่ากันสิ
คิดเห็นอย่างไร? ทำไมทางด่วนยกระดับจำกัดความเร็ววิ่งได้ 100 kmph น้อยกว่าทางราบที่ 110 kmph
(อ้างอิงตามเว็บการทางพิเศษแห่งประเทศไทย https://www.exat.co.th/law-of-limited-speed-on-expressway-22072565/)
กำหนดความเร็ว “ทางยกระดับ”
รถยนต์ 4 ล้อ ไม่เกิน 100 กม./ชม.
รถบรรทุก (>2.2 ตัน) และ รถโดยสาร (>15 คน) ไม่เกิน 80 กม./ชม.
รถโรงเรียน-รับส่งนักเรียน ไม่เกิน 80 กม./ชม.
กำหนดความเร็ว “ระดับดิน”
รถยนต์ 4 ล้อ ไม่เกิน 110 กม./ชม.
รถบรรทุก (>2.2 ตัน) และ รถโดยสาร (>15 คน) ไม่เกิน 90 กม./ชม.
รถโรงเรียน-รับส่งนักเรียน ไม่เกิน 90 กม./ชม.
จากข้อมูลดังกล่ว จึงอยากถามความเห็นเพื่อนๆ กันว่า ทำไม ถึงปรับให้ทางด่วนใช้ความเร็วได้ต่ำกว่าทางราบ?
ทั้งที่เสียเงิน เพื่อให้ทำความเร็วไปได้ถึงที่หมายได้รวดเร็วกว่า ตามที่เรียกชื่อว่า "ทางด่วน" ซึ่งส่วนตัวผมคิดว่าทางอ้างเรื่องความปลอดภัย ไม่ว่าทางไหนก็ตามควรจำกัดความเร็วที่เท่ากันสิ