1-ใช่หรือไม่ที่คนเราชอบฟังเพลงและดนตรีโดยอาศัยความสัมพันธ์..ระหว่าง ช่องเวลา กับ อารมณ์ เมื่อมีตัวแปลที่หาได้ไม่แน่นอนและจริงอย่างเวลา กับ อารมณ์ที่หาค่าไม่ทางคณิตศาสตร์ มนุษย์จึงไม่มีแนวเพลงที่เยียวยาหัวใจกับความรู้สึกเพื่อความจรรโลงใจ อย่างที่แน่นอน
2- จาก 1- สรุปได้ว่ามนุษย์ฟังเพลงและดนตรี นั้นไม่สามรถฟังเพลงและดนตรีที่เกินเลยหรือมีค่าแตกต่างกันเกินไป เกินอารมณ์ หรือ ช่วงเวลาของชีวิตและประสบการณ์ของตัวเองได้ เพราะจะทำให้เกิดการขัดแย้ง กันส่งการเปลี่ยนแปลงที่คาดเดาไม่ได้
3- เดรัจฉานตามคำเรียกที่เราให้คำนิยาม นั้นเข้าใจอารมณ์หวั่นไหวกับเสียงเพลงและดนตรีหรือไม่..หรือมันฟังเพลงคนละคลื่นความถี่กับมนุษย์??..
4- จากข้อ 3 การเสพสุขความรื่นเริ่งในเสียงเพลงและดนตรีนี้เป็นบาปไหมในทางศาสนาไหม..เมื่อใน 2500-3000 ปีก่อนนั้นมีเพียงเสียงสวดคาถา (Lyrics) กับเสียงจิ้งหรีดเท่านั้นที่พอจะฟังเป็น จังหวะ (Rhythm) พ้องพร้อมกัน กับเสียงลมพัดกับใบไม้ที่ดูฟัง (Chord) ทรงได้ตั้งกรอบกฎไว้อย่างไร
5- มีโอกาศไหมในอนาคตที่วัฒนธรรมการเสพเสียงเพลงดนตรีจะหายไปตลอดกาล หรือ เป็นวัฒนธรรมทางประวัติศาสตร์ที่สอนกันในชั้นเรียนเหมือน บทกลอนกวีพระอภัยมณีที่เราเคยเรียนในตอนเด็กๆ
5- ถ้าอย่างงั้นการเสพดนตรีนั้นเป็นการเข้าถึงได้+รับผลกระทบทางอารณ์ จากศิลปินที่สรรค์สร้าง ในรูปแบบความสุขและ...ฯลฯ...เป็นสิ่งมอมเมาทางอารมณ์หรือไม่..ทำให้มนุษย์ฉลาดคิดมากขึ้นน้อยลงอย่างไร...ในระยะยาวไหม..ตั้งแต่ลิงตัวแรกหัดออกเสียงเพื่อขู่เสือที่กำลังจะพุ่งกระโจนล่าตัวเอง...
--หรือสุดท้ายเพลงกับดนตรี นั้นถูกสร้างโดยอะไรบ้างอย่าง สร้างขึ้นมาเพื่อให้มนุษย์หลงไหลไปกับมัน ทั้งที่มีโน็ตเสียงหลักๆเพียง 7 ตัวที่ใช้ทั่วไป สลับกันไปมา ไม่ได้ยากกว่าเข้าใจทางตรรกะสามัญนำนึกของมนุษย์เลย ได้แต่หวังว่า บนสวรรค์มีเพลงกับดตรีดีๆกับเทวดากับศิลปินเก่งๆ หรือแดนนรกอยากให้คงมีพักเบรค เปิดดนตรีเศร้าๆชวนให้สำนึกผิดกับบาปกรรมที่เคยทำมา...ไม่งั้นเทวดาสัตว์นรกยุคนี้คงคิด..เอกภาพนี้มันช่างไม่สมบูรณ์แบบเหมือนขาดอะไรสักอย่าเป็นแน่...
เสียงมี่เกิดจากการไม่หยุดนิ่งบางสิ่งที่เราให้ความหมายว่าธรรมชาติปรุงแต่ง..กับแนวคิดและ"รสนิยม" ในเสียงเพลงและดนตรี
2- จาก 1- สรุปได้ว่ามนุษย์ฟังเพลงและดนตรี นั้นไม่สามรถฟังเพลงและดนตรีที่เกินเลยหรือมีค่าแตกต่างกันเกินไป เกินอารมณ์ หรือ ช่วงเวลาของชีวิตและประสบการณ์ของตัวเองได้ เพราะจะทำให้เกิดการขัดแย้ง กันส่งการเปลี่ยนแปลงที่คาดเดาไม่ได้
3- เดรัจฉานตามคำเรียกที่เราให้คำนิยาม นั้นเข้าใจอารมณ์หวั่นไหวกับเสียงเพลงและดนตรีหรือไม่..หรือมันฟังเพลงคนละคลื่นความถี่กับมนุษย์??..
4- จากข้อ 3 การเสพสุขความรื่นเริ่งในเสียงเพลงและดนตรีนี้เป็นบาปไหมในทางศาสนาไหม..เมื่อใน 2500-3000 ปีก่อนนั้นมีเพียงเสียงสวดคาถา (Lyrics) กับเสียงจิ้งหรีดเท่านั้นที่พอจะฟังเป็น จังหวะ (Rhythm) พ้องพร้อมกัน กับเสียงลมพัดกับใบไม้ที่ดูฟัง (Chord) ทรงได้ตั้งกรอบกฎไว้อย่างไร
5- มีโอกาศไหมในอนาคตที่วัฒนธรรมการเสพเสียงเพลงดนตรีจะหายไปตลอดกาล หรือ เป็นวัฒนธรรมทางประวัติศาสตร์ที่สอนกันในชั้นเรียนเหมือน บทกลอนกวีพระอภัยมณีที่เราเคยเรียนในตอนเด็กๆ
5- ถ้าอย่างงั้นการเสพดนตรีนั้นเป็นการเข้าถึงได้+รับผลกระทบทางอารณ์ จากศิลปินที่สรรค์สร้าง ในรูปแบบความสุขและ...ฯลฯ...เป็นสิ่งมอมเมาทางอารมณ์หรือไม่..ทำให้มนุษย์ฉลาดคิดมากขึ้นน้อยลงอย่างไร...ในระยะยาวไหม..ตั้งแต่ลิงตัวแรกหัดออกเสียงเพื่อขู่เสือที่กำลังจะพุ่งกระโจนล่าตัวเอง...
--หรือสุดท้ายเพลงกับดนตรี นั้นถูกสร้างโดยอะไรบ้างอย่าง สร้างขึ้นมาเพื่อให้มนุษย์หลงไหลไปกับมัน ทั้งที่มีโน็ตเสียงหลักๆเพียง 7 ตัวที่ใช้ทั่วไป สลับกันไปมา ไม่ได้ยากกว่าเข้าใจทางตรรกะสามัญนำนึกของมนุษย์เลย ได้แต่หวังว่า บนสวรรค์มีเพลงกับดตรีดีๆกับเทวดากับศิลปินเก่งๆ หรือแดนนรกอยากให้คงมีพักเบรค เปิดดนตรีเศร้าๆชวนให้สำนึกผิดกับบาปกรรมที่เคยทำมา...ไม่งั้นเทวดาสัตว์นรกยุคนี้คงคิด..เอกภาพนี้มันช่างไม่สมบูรณ์แบบเหมือนขาดอะไรสักอย่าเป็นแน่...