นอกเหนือจากการใช้อวัจนภาษา เช่น ภาษากายและการสบตา น้ำเสียงก็สำคัญที่ทำให้คำพูดประโยคเดียว ให้ความหมายและอารมณ์ที่แตกต่าง อาจสร้างความสัมพันธ์ โน้มน้าวใครต่อใครให้หลงรักและเอ็นดูคุณ ไม่ว่าจะเป็นเรื่องงาน หรือความรัก
เคยมีคนที่คุยกับเราแล้วพูดสามประโยคนี้ กับเรา แต่เราจะเว้นให้คุณเคติมคำในช่องว่าง ถ้าเป็นคุณจะเติมว่าอะไรกับเสียงที่คุณชอบ
เช่นเราเติมแบบนี้
1. เสียงคุณนี่มันโคตร …หล่อ
2. ถ้ามีแฟนเสียงแบบนี้…ใจละลาย
3. ถ้าได้ฟังเสียงนี้ก่อนนอน…ฝันถึงเลยค่ะ
ถ้าเป็นที่ทำงานคุณอยากได้แบบไหน … เสียงหัวหน้า หรือเพื่อนร่วมงาน:คุณจะเติมว่าไงกับสามประโยคนี้นะคะ
เราเติมว่า
1. เสียงพี่นี่มันโคตร…นุ่ม
2. ถ้ามีหัวหน้าด่าเสียงแบบนี้…จะร้องไห้
3. ถ้าได้ฟังเสียงนี้ทุกวัน…จะไม่มาทำงานสาย
นอกจากนิสัย ทัศนคติของคนที่คุณคุยด้วยแล้ว “คู่สนทนาเสียงแบบไหน โทนไหน” ที่คุณตกหลุมรักมากที่สุด ชอบมากที่สุด มีความสุข และสบายใจ
………
ถ้าไม่นับทัศนคติ และนิสัย “เสียงของอีกฝ่าย” แบบไหนที่คุณชอบมากที่สุด เช่น เสียงนุ่ม อ่อนโยน ชัด ช้า อ้อน สดใส จริงจัง
เคยมีคนที่คุยกับเราแล้วพูดสามประโยคนี้ กับเรา แต่เราจะเว้นให้คุณเคติมคำในช่องว่าง ถ้าเป็นคุณจะเติมว่าอะไรกับเสียงที่คุณชอบ
เช่นเราเติมแบบนี้
1. เสียงคุณนี่มันโคตร …หล่อ
2. ถ้ามีแฟนเสียงแบบนี้…ใจละลาย
3. ถ้าได้ฟังเสียงนี้ก่อนนอน…ฝันถึงเลยค่ะ
ถ้าเป็นที่ทำงานคุณอยากได้แบบไหน … เสียงหัวหน้า หรือเพื่อนร่วมงาน:คุณจะเติมว่าไงกับสามประโยคนี้นะคะ
เราเติมว่า
1. เสียงพี่นี่มันโคตร…นุ่ม
2. ถ้ามีหัวหน้าด่าเสียงแบบนี้…จะร้องไห้
3. ถ้าได้ฟังเสียงนี้ทุกวัน…จะไม่มาทำงานสาย
นอกจากนิสัย ทัศนคติของคนที่คุณคุยด้วยแล้ว “คู่สนทนาเสียงแบบไหน โทนไหน” ที่คุณตกหลุมรักมากที่สุด ชอบมากที่สุด มีความสุข และสบายใจ
………