สุดยอดความคิดเห็น
ความคิดเห็นที่ 4
มิใช่เช่นนั้นเจ้าค่ะ อย่าเอาไปปนกัน
ต้องย้อนหลังไปตั้งแต่ทฤษฎีฟิสิกส์ยุคนิวตัน ที่ค้นพบว่า แรงกับมวลมีความสัมพันธ์กันแนบแน่น
ที่ใดมีมวล ที่นั่นมีแรง ซึ่งนิวตันก็ได้สรุปมาเป็นกฎข้อ 2 ว่า F = ma นั่นเอง อันเป็นผลมาจาก
การที่พี่แกเห็นแอปเปิ้ลหล่นจากต้นสู่พื้นโลก ซึ่งแรงโน้มถ่วงที่ว่า ก็เป็นผลมาจากมวลของโลกนั่นเอง
แต่พอมาถึงยุคฟิสิกส์สมัยใหม่ ก็เริ่มมีแนวคิดลึกซึ้งลงไปอีก ว่าทำไมมวลถึงทำให้เกิดแรงได้
มันน่าแปลกเสียนี่กระไร มวลอยู่เฉยๆของมันดีๆก็มีแรงได้ ช่างน่าแปลกเอามากๆ
แค่เอามวลสองก้อนมาวางใกล้กัน ก็เกิดแรงดึงดูดระหว่างกันได้ ประหลาดมหัศจรรย์มาก
มันมีอะไรซ่อนอยู่ในมวลรึอย่างไร แล้วมวลที่ว่า ไม่ได้จำกัดด้วยว่ามวลของอะไร
จะเป็นมวลของก้อนดิน มวลของน้ำ มวลของโลหะ ก็ก่อให้เกิดแรงทั้งสิ้น ไม่มีอะไรต่างกันเลย
มันแปลกสุดแสนจะบรรยาย
ไอน์สไตน์ จึงเสนอแนวคิดอีกทางนึงว่า แท้จริงแล้ว มวล เป็นผลมาจากการที่สนาม space-time
ที่บิดเบี้ยว (หรือโค้งงอ) จึงก่อให้เกิดแรงกระทำต่อกัน ดังตามรูปที่เห็นบ่อยๆคือ ลูกกลมๆวางบนพื้นตาข่ายที่ยุบเป็นหลุม
คือไอน์สไตน์ แกคิดกลับทางกับคนอื่นๆ (รวมทั้งนิวตันด้วย) เรียกว่าย้อนศรกันเลยทีเดียว
ยิ่งนักวิทยาศาสตร์คิดพิเคราะห์ ศึกษาลงไปเรื่อยๆ ก็ยิ่งพบว่า ที่ไอน์สไตน์เสนอ มันน่าจะเป็นความจริง
เป็นวิธีอธิบายปรากฎการณ์ธรรมชาติที่แยบยลมากๆ และใช้คำนวณอันตรกิริยาในธรรมชาติ ตั้งแต่ระดับอะตอม
ไปจนถึงเทหวัตถุขนาดใหญ่ในอวกาศได้อย่างแม่นยำ
เรื่องมันก็เป็นแบบนี้แหละเจ้าค่ะ ท่านกำนัน
ต้องย้อนหลังไปตั้งแต่ทฤษฎีฟิสิกส์ยุคนิวตัน ที่ค้นพบว่า แรงกับมวลมีความสัมพันธ์กันแนบแน่น
ที่ใดมีมวล ที่นั่นมีแรง ซึ่งนิวตันก็ได้สรุปมาเป็นกฎข้อ 2 ว่า F = ma นั่นเอง อันเป็นผลมาจาก
การที่พี่แกเห็นแอปเปิ้ลหล่นจากต้นสู่พื้นโลก ซึ่งแรงโน้มถ่วงที่ว่า ก็เป็นผลมาจากมวลของโลกนั่นเอง
แต่พอมาถึงยุคฟิสิกส์สมัยใหม่ ก็เริ่มมีแนวคิดลึกซึ้งลงไปอีก ว่าทำไมมวลถึงทำให้เกิดแรงได้
มันน่าแปลกเสียนี่กระไร มวลอยู่เฉยๆของมันดีๆก็มีแรงได้ ช่างน่าแปลกเอามากๆ
แค่เอามวลสองก้อนมาวางใกล้กัน ก็เกิดแรงดึงดูดระหว่างกันได้ ประหลาดมหัศจรรย์มาก
มันมีอะไรซ่อนอยู่ในมวลรึอย่างไร แล้วมวลที่ว่า ไม่ได้จำกัดด้วยว่ามวลของอะไร
จะเป็นมวลของก้อนดิน มวลของน้ำ มวลของโลหะ ก็ก่อให้เกิดแรงทั้งสิ้น ไม่มีอะไรต่างกันเลย
มันแปลกสุดแสนจะบรรยาย
ไอน์สไตน์ จึงเสนอแนวคิดอีกทางนึงว่า แท้จริงแล้ว มวล เป็นผลมาจากการที่สนาม space-time
ที่บิดเบี้ยว (หรือโค้งงอ) จึงก่อให้เกิดแรงกระทำต่อกัน ดังตามรูปที่เห็นบ่อยๆคือ ลูกกลมๆวางบนพื้นตาข่ายที่ยุบเป็นหลุม
คือไอน์สไตน์ แกคิดกลับทางกับคนอื่นๆ (รวมทั้งนิวตันด้วย) เรียกว่าย้อนศรกันเลยทีเดียว
ยิ่งนักวิทยาศาสตร์คิดพิเคราะห์ ศึกษาลงไปเรื่อยๆ ก็ยิ่งพบว่า ที่ไอน์สไตน์เสนอ มันน่าจะเป็นความจริง
เป็นวิธีอธิบายปรากฎการณ์ธรรมชาติที่แยบยลมากๆ และใช้คำนวณอันตรกิริยาในธรรมชาติ ตั้งแต่ระดับอะตอม
ไปจนถึงเทหวัตถุขนาดใหญ่ในอวกาศได้อย่างแม่นยำ
เรื่องมันก็เป็นแบบนี้แหละเจ้าค่ะ ท่านกำนัน
แสดงความคิดเห็น
ไอน์สไตน์ บอกว่า โลกไม่มีแรงดึงดูด แต่ที่วัตถุไม่หลุดอแกจากโลกเนื่องจากโลกมีสันฐานทรงโค้ง?