⚔︎
⚔︎
Lydia ปลาฉลามขาวขนาดใหญ่บนเรือวิจัย OCEARCH
ระหว่างการสำรวจเพื่อทำการติดแท็กติดตาม
© OCEARCH/Robert Snow
⚔︎
⚔︎
ตั้งแต่การเรืองแสงใต้น้ำ
ไปจนถึงการล่าสัตว์ด้วยแส้จากหาง
ปลาฉลามเป็นสัตว์ที่น่าหลงใหล/แปลกประหลาด
ข้อเท็จจริงแปลก ๆ เกี่ยวกับฉลาม 8 เรื่อง
⚔︎
⚔︎
1. The megamouth shark
⚔︎
ปลาฉลามปากมหึมาอยู่ในเขตน้ำลึกหายากมาก
ปลาฉลามนี้จะแหวกว่ายโดยอ้าปากกว้าง
จับและดูดปลาและตัวคริลล์ ในขณะที่ร่อนไปมา
ปากที่ใหญ่โตของมันยื่นผ่านตาของมัน
และมีฟันแหลมคมเล็กๆ ประมาณ 50 แถว
บนกรามแต่ละข้าง © NOAA
หนึ่งในปลาฉลามที่หายากที่สุด คือ
ปลาฉลามปากมหึมา
Megachasma pelagios
หมายถึง ปากยักษ์แห่งความลึก
ปลาฉลามพันธุ์นี้เคยจัดเป็น
หนึ่งในตัวอย่างสัตว์ร้าย 100 ชนิด
มันถูกค้นพบครั้งแรกในปี 1976
เมื่อมันถูกชนและพันกับสมอเรือรบ
ของกองทัพเรือนอกชายฝั่งฮาวาย
มันสามารถเติบโตได้ยาวถึง 15 ฟุต (4.6 เมตร)
และเป็นตัวดูด ตัวกรอง ดูดแพลงก์ตอนจากน้ำ
⚔︎
⚔︎
⚔︎
⚔︎
2. The cookiecutter shark
⚔︎
ภาพขยายสองภาพของปลาฉลามขาว
ที่ถูกกัดและรอยแผลเป็นที่เกิดจาก
ปลาฉลามกัดขนมคุ๊กกี้ Cookiecutter
ทางด้านขวาของแผลที่ถูกกัด (ดูลูกศร)
รอยแผลเป็นรูปพระจันทร์เสี้ยว
จากการถูกปลาชนิดนี้กัดเมื่อครั้งก่อน
© Mauricio Hoyos-Padilla et al / Pacific Science
ปลาฉลามกัดขนมคุ๊กกี้ สามารถกัดเนื้อปลา
ออกมาเป็นก้อนชิ้นเนื้อเหมือนกัดก้อนไอศกรีม
จากลำตัวปลาฉลามตัวอื่น ๆ ได้ รวมถึง
ปลาฉลามขาวตัวใหญ่กว่าหลายเท่า
ทั้งนี้พวกมันยังชอบกัดสายเคเบิลและวัสดุอื่น ๆ
ที่ใช้โดยเรือดำน้ำของกองทัพเรือสหรัฐฯ
ทำให้ต้องเปลี่ยนไปใช้ไฟเบอร์กลาส
เคลือบสารป้องกันการกัดของปลาฉลามชนิดนี้
⚔︎
⚔︎
⚔︎
⚔︎
Shark Bites Fiber Optic Cables Undersea
⚔︎
⚔︎
3. Thick skin
⚔︎
มีปลาฉลามโจมตีคนในน่านน้ำของสหรัฐฯ
มากกว่าในภูมิภาคอื่นๆ ของโลก
(© NOAA photo library)
David Shiffman นักวิจัยปลาฉลาม
และนักศึกษาปริญญาเอก
University of Miami กล่าวว่า
ผิวหนังของปลาฉลามเพศเมียนั้น
จะมีขนาดหนากว่าปลาฉลามตัวผู้มาก
เพราะปลาฉลามตัวผู้มักจะกัดปลาฉลามตัวเมียระหว่างการผสมพันธุ์ (แบบแมวตัวผู้เช่นกัน)
ทำให้ปลาฉลามตัวเมียที่ต้ังท้องดูเหมือนว่า
จะหลีกเลี่ยงปลาฉลามตัวผู้ในเส้นทางอพยพ
ในมหาสมุทรแปซิฟิกตะวันออก
ซึ่งอาจทำเพื่อหลีกเลี่ยงการถูกกัด
จากผลการศึกษา/งานวิจัย
⚔︎
⚔︎
⚔︎
⚔︎
4. Slow swimming shark
⚔︎
ปลาฉลามกรีนแลนด์ที่มีเครื่องบันทึกข้อมูล
ติดอยู่ด้านหลังของมันขณะกำลังว่ายน้ำอยู่
(© NRK/Armin Muck)
ปลาฉลามกรีนแลนด์เป็นปลาที่เคลื่อนไหวช้าที่สุด
เท่าที่มนุษย์เคยบันทึกไว้และพบว่าในท้องของมัน
มี ซากกวางเรนเดียร์ ซากหมีขั้วโลก
และซากแมวน้ำที่เคลื่อนไหวได้อย่างรวดเร็ว
David Shiffman กล่าวว่า
แมวน้ำที่งีบหลับนิ่งใต้น้ำทะเล
เพื่อหลีกเลี่ยงหมีขั้วโลกบนบก
จะกลายเป็นอาหารปลาฉลามกรีนแลนด์
⚔︎
⚔︎
⚔︎
⚔︎
⚔︎
5. Cavity-proof teeth
⚔︎
ฟันแบบนี้จากปลาฉลาม
Carcharocles megalodon
ที่สูญพันธุ์ไปแล้ว มีขนาดความยาว 40 ฟุตนั้น
พบได้ทั่วไปใน
Sharktooth Hill Bone Bed
เช่นเดียวกับปลาฉลามในยุคใหม่
ปลาฉลามที่สูญพันธุ์เหล่านี้
มีฟันแท้ตลอดชีวิตเช่นกัน (© UC Berkeley)
ฟันปลาฉลามเคลือบ
Fluoroapatite ทำให้ทนต่อการผุกร่อน
ผลการศึกษาที่ตีพิมพ์ในวารสาร
Journal of Structural Biology
พบว่าเคลือบฟันของฉลามประกอบด้วยสารเคมี
ที่เรียกว่า Fluoroapatite ซึ่งทนทาน
ต่อกรดที่เกิดจากแบคทีเรีย
เมื่อรวมกับข้อเท็จจริงที่ว่า
ปลาฉลามส่วนใหญ่จะมีฟันแท้ตลอดชีวิต
นั่นหมายความว่า มันมีสุขภาพฟันที่ดีเยี่ยม
⚔︎
⚔︎
⚔︎
⚔︎
Megalodon tooth with two great white shark teeth
⚔︎
⚔︎
6. Glowing in the deep
⚔︎
ส่วนทึ่เรืองแสงในที่ลึก
ของปลาฉลามตะเกียงกำมะหยี่
เมื่อมองจากด้านข้าง
© Dr. Jérôme Mallefet FNRS - UCL
ปลาฉลามตะเกียงกำมะหยี่สามารถเรืองแสง
เพื่อปลอมตัวในมหาสมุทรลึก
โดยผลิต/เปล่งแสงในปริมาณเท่ากับภาพด้านบน
ด้วยวิธีนี้จะทำให้ไม่เกิดเงาดำมืดขึ้นมา
ปลาฉลามตะเกียงกำมะหยี่ จะมีเงี่ยงเรืองแสง
ที่อาจใช้เพื่อขับไล่สัตว์นักล่า
(แบบนายพรานจุดฟืนไฟไล่/ป้องกันสัตว์ป่า)
⚔︎
⚔︎
⚔︎
⚔︎
7. Cloned sharks
⚔︎
Laura Rock ยังคว้ารางวัลลำดับสอง
จากปลาฉลามหัวค้อนใน Bimini, Bahamas.
© Laura Rock, Florida
เป็นที่ทราบกันดีว่า ปลาฉลามตัวเมียบางตัว
สามารถสืบพันธุ์ได้โดยไม่ต้องใช้ปลาฉลามตัวผู้
ในปี 2001 David Shiffman ระบุว่า
ปลาฉลามหัวค้อนตัวเมียคลอดลูกในสวนสัตว์
Henry Doorly ใน Nebraska
โดยไม่ได้ผสมพันธุ์กับปลาฉลามตัวผู้
ทำให้นักวิจัยประหลาดใจมาก
เพราะเป็นตัวอย่างของการ
Parthenogenesis
ซึ่งตัวอ่อนสร้างขึ้นมาด้วยการปฏิสนธิภายนอก
และพบเห็นได้ในสัตว์ทุกประเภท
ยกเว้นสัตว์เลี้ยงลูกด้วยน้ำนม
⚔︎
⚔︎
⚔︎
⚔︎
8. Tail-whip hunting
⚔︎
ปลาฉลามหางยาวใช้หางยาวฟาด
และทำให้ปลามึนงงก่อนจะกิน
© nicolas.voisin44 | Shutterstock
ปลาฉลาม Thresher สามารถสะบัดหาง
เพื่อทำให้เหยื่อมึนงง แล้วฟาดใส่เหมือนแส้
David Shiffman กล่าวว่า
พฤติกรรมดังกล่าวถูกถ่ายภาพได้/
อธิบายเป็นครั้งแรกในการศึกษา PLOS ONE
หางที่เหมือนแส้ยังสร้างฟองอากาศ
ที่สามารถทำให้เหยื่อสับสนและอึ้งไปเลย
⚔︎
⚔︎
⚔︎
⚔︎
เรียบเรียง/ที่มา
https://bit.ly/34KBLRZ
ปลาฉลาม
⚔︎
⚔︎
⚔︎
⚔︎
⚔︎
ผัดฉ่าปลาฉลาม I ครัวกับและแกล้ม
⚔︎
⚔︎
เรื่องเล่าไร้สาระ
แถวบ้านนาน ๆ จะเจอปลาฉลามมาขายในตลาด
ถ้าปลาฉลามตัวใหญ่มักจะหั่นเป็นชิ้น ๆ แบ่งขาย
ถ้าลูกปลาฉลามก็ขายเป็นตัว ๆ ไปเลย
พ่อครัวแม่ครัวบางคนนิยมนำไปทำอาหารกัน
ทำได้หลายประเภท เช่น ผัดพริก แกง ผัดฉ่า
หรือแล่เป็นชิ้น ๆ ทำเป็นเนื้อแดดเดียว ก็มี
บางรายนำมาหมักให้เน่าเล็กน้อย ผสมรำ
ข้าวเหนียว พวกสารจับตัวให้หนืด/เป็นก้อน
เพื่อทำเป็นเหยื่อล่อ/ตกปลาน้ำจืด
หรือแล่เป็นชิ้น ๆ ไว้ตกปลาทะเล ก็มี
เพราะเป็นปลาจัดว่าราคาถูกในอดีต
แต่ทุกวันนี้ไม่ค่อยเห็นในท้องตลาดนานมากแล้ว
8 เรื่องแปลกของปลาฉลาม
⚔︎
Lydia ปลาฉลามขาวขนาดใหญ่บนเรือวิจัย OCEARCH
ระหว่างการสำรวจเพื่อทำการติดแท็กติดตาม
© OCEARCH/Robert Snow
⚔︎
⚔︎
ตั้งแต่การเรืองแสงใต้น้ำ
ไปจนถึงการล่าสัตว์ด้วยแส้จากหาง
ปลาฉลามเป็นสัตว์ที่น่าหลงใหล/แปลกประหลาด
ข้อเท็จจริงแปลก ๆ เกี่ยวกับฉลาม 8 เรื่อง
⚔︎
1. The megamouth shark
⚔︎
ปลาฉลามปากมหึมาอยู่ในเขตน้ำลึกหายากมาก
ปลาฉลามนี้จะแหวกว่ายโดยอ้าปากกว้าง
จับและดูดปลาและตัวคริลล์ ในขณะที่ร่อนไปมา
ปากที่ใหญ่โตของมันยื่นผ่านตาของมัน
และมีฟันแหลมคมเล็กๆ ประมาณ 50 แถว
บนกรามแต่ละข้าง © NOAA
หนึ่งในปลาฉลามที่หายากที่สุด คือ
ปลาฉลามปากมหึมา Megachasma pelagios
หมายถึง ปากยักษ์แห่งความลึก
ปลาฉลามพันธุ์นี้เคยจัดเป็น
หนึ่งในตัวอย่างสัตว์ร้าย 100 ชนิด
มันถูกค้นพบครั้งแรกในปี 1976
เมื่อมันถูกชนและพันกับสมอเรือรบ
ของกองทัพเรือนอกชายฝั่งฮาวาย
มันสามารถเติบโตได้ยาวถึง 15 ฟุต (4.6 เมตร)
และเป็นตัวดูด ตัวกรอง ดูดแพลงก์ตอนจากน้ำ
⚔︎
⚔︎
⚔︎
2. The cookiecutter shark
⚔︎
ภาพขยายสองภาพของปลาฉลามขาว
ที่ถูกกัดและรอยแผลเป็นที่เกิดจาก
ปลาฉลามกัดขนมคุ๊กกี้ Cookiecutter
ทางด้านขวาของแผลที่ถูกกัด (ดูลูกศร)
รอยแผลเป็นรูปพระจันทร์เสี้ยว
จากการถูกปลาชนิดนี้กัดเมื่อครั้งก่อน
© Mauricio Hoyos-Padilla et al / Pacific Science
ปลาฉลามกัดขนมคุ๊กกี้ สามารถกัดเนื้อปลา
ออกมาเป็นก้อนชิ้นเนื้อเหมือนกัดก้อนไอศกรีม
จากลำตัวปลาฉลามตัวอื่น ๆ ได้ รวมถึง
ปลาฉลามขาวตัวใหญ่กว่าหลายเท่า
ทั้งนี้พวกมันยังชอบกัดสายเคเบิลและวัสดุอื่น ๆ
ที่ใช้โดยเรือดำน้ำของกองทัพเรือสหรัฐฯ
ทำให้ต้องเปลี่ยนไปใช้ไฟเบอร์กลาส
เคลือบสารป้องกันการกัดของปลาฉลามชนิดนี้
⚔︎
⚔︎
⚔︎
Shark Bites Fiber Optic Cables Undersea
⚔︎
⚔︎
3. Thick skin
⚔︎
มีปลาฉลามโจมตีคนในน่านน้ำของสหรัฐฯ
มากกว่าในภูมิภาคอื่นๆ ของโลก
(© NOAA photo library)
David Shiffman นักวิจัยปลาฉลาม
และนักศึกษาปริญญาเอก
University of Miami กล่าวว่า
ผิวหนังของปลาฉลามเพศเมียนั้น
จะมีขนาดหนากว่าปลาฉลามตัวผู้มาก
เพราะปลาฉลามตัวผู้มักจะกัดปลาฉลามตัวเมียระหว่างการผสมพันธุ์ (แบบแมวตัวผู้เช่นกัน)
ทำให้ปลาฉลามตัวเมียที่ต้ังท้องดูเหมือนว่า
จะหลีกเลี่ยงปลาฉลามตัวผู้ในเส้นทางอพยพ
ในมหาสมุทรแปซิฟิกตะวันออก
ซึ่งอาจทำเพื่อหลีกเลี่ยงการถูกกัด
จากผลการศึกษา/งานวิจัย
⚔︎
⚔︎
⚔︎
4. Slow swimming shark
⚔︎
ปลาฉลามกรีนแลนด์ที่มีเครื่องบันทึกข้อมูล
ติดอยู่ด้านหลังของมันขณะกำลังว่ายน้ำอยู่
(© NRK/Armin Muck)
ปลาฉลามกรีนแลนด์เป็นปลาที่เคลื่อนไหวช้าที่สุด
เท่าที่มนุษย์เคยบันทึกไว้และพบว่าในท้องของมัน
มี ซากกวางเรนเดียร์ ซากหมีขั้วโลก
และซากแมวน้ำที่เคลื่อนไหวได้อย่างรวดเร็ว
David Shiffman กล่าวว่า
แมวน้ำที่งีบหลับนิ่งใต้น้ำทะเล
เพื่อหลีกเลี่ยงหมีขั้วโลกบนบก
จะกลายเป็นอาหารปลาฉลามกรีนแลนด์
⚔︎
⚔︎
⚔︎
⚔︎
5. Cavity-proof teeth
⚔︎
ฟันแบบนี้จากปลาฉลาม Carcharocles megalodon
ที่สูญพันธุ์ไปแล้ว มีขนาดความยาว 40 ฟุตนั้น
พบได้ทั่วไปใน Sharktooth Hill Bone Bed
เช่นเดียวกับปลาฉลามในยุคใหม่
ปลาฉลามที่สูญพันธุ์เหล่านี้
มีฟันแท้ตลอดชีวิตเช่นกัน (© UC Berkeley)
ฟันปลาฉลามเคลือบ Fluoroapatite ทำให้ทนต่อการผุกร่อน
ผลการศึกษาที่ตีพิมพ์ในวารสาร
Journal of Structural Biology
พบว่าเคลือบฟันของฉลามประกอบด้วยสารเคมี
ที่เรียกว่า Fluoroapatite ซึ่งทนทาน
ต่อกรดที่เกิดจากแบคทีเรีย
เมื่อรวมกับข้อเท็จจริงที่ว่า
ปลาฉลามส่วนใหญ่จะมีฟันแท้ตลอดชีวิต
นั่นหมายความว่า มันมีสุขภาพฟันที่ดีเยี่ยม
⚔︎
⚔︎
⚔︎
Megalodon tooth with two great white shark teeth
⚔︎
⚔︎
6. Glowing in the deep
⚔︎
ส่วนทึ่เรืองแสงในที่ลึก
ของปลาฉลามตะเกียงกำมะหยี่
เมื่อมองจากด้านข้าง
© Dr. Jérôme Mallefet FNRS - UCL
ปลาฉลามตะเกียงกำมะหยี่สามารถเรืองแสง
เพื่อปลอมตัวในมหาสมุทรลึก
โดยผลิต/เปล่งแสงในปริมาณเท่ากับภาพด้านบน
ด้วยวิธีนี้จะทำให้ไม่เกิดเงาดำมืดขึ้นมา
ปลาฉลามตะเกียงกำมะหยี่ จะมีเงี่ยงเรืองแสง
ที่อาจใช้เพื่อขับไล่สัตว์นักล่า
(แบบนายพรานจุดฟืนไฟไล่/ป้องกันสัตว์ป่า)
⚔︎
⚔︎
⚔︎
7. Cloned sharks
⚔︎
Laura Rock ยังคว้ารางวัลลำดับสอง
จากปลาฉลามหัวค้อนใน Bimini, Bahamas.
© Laura Rock, Florida
เป็นที่ทราบกันดีว่า ปลาฉลามตัวเมียบางตัว
สามารถสืบพันธุ์ได้โดยไม่ต้องใช้ปลาฉลามตัวผู้
ในปี 2001 David Shiffman ระบุว่า
ปลาฉลามหัวค้อนตัวเมียคลอดลูกในสวนสัตว์
Henry Doorly ใน Nebraska
โดยไม่ได้ผสมพันธุ์กับปลาฉลามตัวผู้
ทำให้นักวิจัยประหลาดใจมาก
เพราะเป็นตัวอย่างของการ Parthenogenesis
ซึ่งตัวอ่อนสร้างขึ้นมาด้วยการปฏิสนธิภายนอก
และพบเห็นได้ในสัตว์ทุกประเภท
ยกเว้นสัตว์เลี้ยงลูกด้วยน้ำนม
⚔︎
⚔︎
⚔︎
8. Tail-whip hunting
⚔︎
ปลาฉลามหางยาวใช้หางยาวฟาด
และทำให้ปลามึนงงก่อนจะกิน
© nicolas.voisin44 | Shutterstock
ปลาฉลาม Thresher สามารถสะบัดหาง
เพื่อทำให้เหยื่อมึนงง แล้วฟาดใส่เหมือนแส้
David Shiffman กล่าวว่า
พฤติกรรมดังกล่าวถูกถ่ายภาพได้/
อธิบายเป็นครั้งแรกในการศึกษา PLOS ONE
หางที่เหมือนแส้ยังสร้างฟองอากาศ
ที่สามารถทำให้เหยื่อสับสนและอึ้งไปเลย
⚔︎
⚔︎
เรียบเรียง/ที่มา
https://bit.ly/34KBLRZ
ปลาฉลาม
⚔︎
⚔︎
⚔︎
⚔︎
ผัดฉ่าปลาฉลาม I ครัวกับและแกล้ม
⚔︎
⚔︎
เรื่องเล่าไร้สาระ
แถวบ้านนาน ๆ จะเจอปลาฉลามมาขายในตลาด
ถ้าปลาฉลามตัวใหญ่มักจะหั่นเป็นชิ้น ๆ แบ่งขาย
ถ้าลูกปลาฉลามก็ขายเป็นตัว ๆ ไปเลย
พ่อครัวแม่ครัวบางคนนิยมนำไปทำอาหารกัน
ทำได้หลายประเภท เช่น ผัดพริก แกง ผัดฉ่า
หรือแล่เป็นชิ้น ๆ ทำเป็นเนื้อแดดเดียว ก็มี
บางรายนำมาหมักให้เน่าเล็กน้อย ผสมรำ
ข้าวเหนียว พวกสารจับตัวให้หนืด/เป็นก้อน
เพื่อทำเป็นเหยื่อล่อ/ตกปลาน้ำจืด
หรือแล่เป็นชิ้น ๆ ไว้ตกปลาทะเล ก็มี
เพราะเป็นปลาจัดว่าราคาถูกในอดีต
แต่ทุกวันนี้ไม่ค่อยเห็นในท้องตลาดนานมากแล้ว