จำนวนประชากร รายจังหวัด 2564
แสดงจำนวนประชากรจาก
- ข้อมูลสิทธิรักษาพยาบาล สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ ปีงบประมาณ 2564 ประกอบด้วย สิทธิประกันสังคม สิทธิข้าราชการ สิทธิประกันสังคม ฯลฯ (น่าจะแสดงให้เห็นถึงประชากรแฝงในจังหวัดนั้น ๆ ได้พอสมควร)
- ข้อมูลทะเบียนราษฎร กรมการปกครอง ณ เดือนกรกฎาคม 2564 (ประชากรตามทะเบียนราษฎรไม่รวมแฝง)
ที่มา : สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ
https://ucinfo.nhso.go.th/ucinfo
ระบบสถิติทางการทะเบียน กรมการปกครอง
https://stat.bora.dopa.go.th/
ส่วนด้านล่างนี้ จขกท.
ได้สังเกต และ รวบรวมเองครับ
เห็นว่าน่าสนใจ
1 ประชากรแฝงของจังหวัดชลบุรี เยอะมาก
รองจากกรุงเทพฯ โดยเฉพาะจังหวัดชลบุรี
ประชากรแฝงมากถึง 2.3 ล้านคน
2 จังหวัดที่ประชากรแฝงเยอะรองลงมาจาก กทม และ ปริมณฑลคือ กลุ่มจังหวัดทาง EEC ทางภาคตะวันออก
3 จังหวัดที่ประชากรแฝง รวมกันแล้ว เยอะกว่า
ประชากรในทะเบียนราษฏร
ในภาคต่าง ๆ ได้แก่
ภาคใต้
ภูเก็ต , สงขลา , ชุมพร , สุราษฎร์ธานี
ภาคเหนือ
เชียงใหม่ , ลำพูน
ภาคกลาง - ตะวันตก - ตะวันออก
อยุธยา , สระบุรี , ประจวบคีรีขันธ์ , ราชบุรี
ปราจีนบุรี, ชลบุรี, ฉะเชิงเทรา, ระยอง
จันทบุรี
4 หากสังเกตให้ดี
จะพบว่า ประชากรโดยเฉพาะภาคอีสาน
ประชากรผู้อยู่อาศัยจริง
( อ่างอิงตามสิทธิต่าง ๆ ที่กล่าวด้านบน)
ถ้าจะให้เห็นภาพนั้น สื่อประมาณว่า
ตัวอยู่ที่อื่น แต่ทะเบียนราษฎร อยู่ที่ภูมิลำเนาเดิม
จังหวัดเดิมของตนครับ
เช่น จขกท. อยู่ กทม แต่ทะเบียนยังอยู่ ตจว. ครับ
ประชากรในภาคอีสาน ทุกจังหวัดเลยครับ
ค่อนข้างน้อยกว่าในทะเบียนราษฏรมาก ๆ
บางจังหวัดน้อยกว่า เป็นหลักแสนเลย
เช่น ร้อยเอ็ด บุรีรัมย์ นครราชสีมา สกลนคร
อุบลราชธานี ฯลฯ
จังหวัดร้อยเอ็ด
น้อยกว่าประชากรในทะเบียนบ้าน 201,654 คน!!
ศรีสะเกษ 228,758 คน!!
ขอนแก่น 107,016 คน
ให้นำตัวเลขประชากรในภาพมาลบกัน จะได้คำตอบ
- ส่วนจังหวัดในภาคอื่น ๆ ที่ประชากรผู้อยู่อาศัยจริง
น้อยกว่า ในทะเบียราษฏรมาก ๆ
โดยยกมาแค่ส่วนหนึ่งครับ
ภาคเหนือ
ได้แก่ น่าน แพร่ ลำปาง พะเยา เชียงราย
โดยจังหวัดเหล่านี้
เช่น
พะเยา 40,323 , แพร่ 47,219 , น่าน 49,175
ลำปาง 56,611, เชียงราย 66,768
ภาคกลาง ได้แก่
พิจิตร 70,450 คน
นครสวรรค์ 86,901 คน
สุโขทัย 71,363 คน
กำแพงเพชร 95,371 คน !!!
นครปฐม 74,361 คน
สุพรรณบุรี 44,814 คน
* * ส่วนข้อมูลของประชากรจังหวัดอื่น ๆ อยู่ในภาพเลยครับ..
5 จังหวัดที่มีประชากรอาศัยอยู่จริงน้อยกว่า ประชากรตามทะเบียนราษฏรมาก ๆ
โดยกล่าวถึงสัดส่วนนะครับ
โดยมากนั้น จะเป็น
ภาคอีสาน (
ทุกจังหวัด )
ภาคเหนือ
ภาคกลางตอนบน
โดยภาคอีสานนั้น จะเด่นชัดที่สุด และ มากที่สุด
รองลงมาคือ ภาคกลางตอนบน
และ ภาคเหนือ
แต่ก็มีจังหวัดอื่นบ้างเล็กน้อย
เช่น สุพรรณบุรี นครปฐม กาญฯ ภาคกลางตอนล่าง
นครศรีธรรมราช ในภาคใต้
ส่วนในจังหวัดอื่น ๆ ในภาคใต้ และ ส่วนอื่น ๆ
จะไม่แตกต่าง หรือ น้อยกว่ามากนักครับ
พอจะอนุมานได้ว่า จำนวนประชากร
ที่อยู่นอกภูมิลำเนาของตนเองมีเยอะมาก
โดยเฉพาะ ภูมิภาคที่ยกมา
อีสาน เหนือ ภาคกลางตอนบนครับ
มีการโยกย้าย เดินทาง
กระจายไปอาศัยอยู่ที่อื่นนั่นเองครับ
เครดิต : สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ
https://ucinfo.nhso.go.th/ucinfo
ระบบสถิติทางการทะเบียน กรมการปกครอง
https://stat.bora.dopa.go.th/
ประชากรแฝง , ประชากรอาศัยอยู่จริง ( ประมาณ) ถิติจากข้อมูลสิทธรักษาพยาบาล - ประกันสุขภาพแห่งชาติ ปี 2564
แสดงจำนวนประชากรจาก
- ข้อมูลสิทธิรักษาพยาบาล สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ ปีงบประมาณ 2564 ประกอบด้วย สิทธิประกันสังคม สิทธิข้าราชการ สิทธิประกันสังคม ฯลฯ (น่าจะแสดงให้เห็นถึงประชากรแฝงในจังหวัดนั้น ๆ ได้พอสมควร)
- ข้อมูลทะเบียนราษฎร กรมการปกครอง ณ เดือนกรกฎาคม 2564 (ประชากรตามทะเบียนราษฎรไม่รวมแฝง)
ที่มา : สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ https://ucinfo.nhso.go.th/ucinfo
ระบบสถิติทางการทะเบียน กรมการปกครอง https://stat.bora.dopa.go.th/
ส่วนด้านล่างนี้ จขกท.
ได้สังเกต และ รวบรวมเองครับ
เห็นว่าน่าสนใจ
1 ประชากรแฝงของจังหวัดชลบุรี เยอะมาก
รองจากกรุงเทพฯ โดยเฉพาะจังหวัดชลบุรี
ประชากรแฝงมากถึง 2.3 ล้านคน
2 จังหวัดที่ประชากรแฝงเยอะรองลงมาจาก กทม และ ปริมณฑลคือ กลุ่มจังหวัดทาง EEC ทางภาคตะวันออก
3 จังหวัดที่ประชากรแฝง รวมกันแล้ว เยอะกว่า
ประชากรในทะเบียนราษฏร
ในภาคต่าง ๆ ได้แก่
ภาคใต้
ภูเก็ต , สงขลา , ชุมพร , สุราษฎร์ธานี
ภาคเหนือ
เชียงใหม่ , ลำพูน
ภาคกลาง - ตะวันตก - ตะวันออก
อยุธยา , สระบุรี , ประจวบคีรีขันธ์ , ราชบุรี
ปราจีนบุรี, ชลบุรี, ฉะเชิงเทรา, ระยอง
จันทบุรี
4 หากสังเกตให้ดี
จะพบว่า ประชากรโดยเฉพาะภาคอีสาน
ประชากรผู้อยู่อาศัยจริง
( อ่างอิงตามสิทธิต่าง ๆ ที่กล่าวด้านบน)
ถ้าจะให้เห็นภาพนั้น สื่อประมาณว่า
ตัวอยู่ที่อื่น แต่ทะเบียนราษฎร อยู่ที่ภูมิลำเนาเดิม
จังหวัดเดิมของตนครับ
เช่น จขกท. อยู่ กทม แต่ทะเบียนยังอยู่ ตจว. ครับ
ประชากรในภาคอีสาน ทุกจังหวัดเลยครับ
ค่อนข้างน้อยกว่าในทะเบียนราษฏรมาก ๆ
บางจังหวัดน้อยกว่า เป็นหลักแสนเลย
เช่น ร้อยเอ็ด บุรีรัมย์ นครราชสีมา สกลนคร
อุบลราชธานี ฯลฯ
จังหวัดร้อยเอ็ด
น้อยกว่าประชากรในทะเบียนบ้าน 201,654 คน!!
ศรีสะเกษ 228,758 คน!!
ขอนแก่น 107,016 คน
ให้นำตัวเลขประชากรในภาพมาลบกัน จะได้คำตอบ
- ส่วนจังหวัดในภาคอื่น ๆ ที่ประชากรผู้อยู่อาศัยจริง
น้อยกว่า ในทะเบียราษฏรมาก ๆ
โดยยกมาแค่ส่วนหนึ่งครับ
ภาคเหนือ
ได้แก่ น่าน แพร่ ลำปาง พะเยา เชียงราย
โดยจังหวัดเหล่านี้
เช่น
พะเยา 40,323 , แพร่ 47,219 , น่าน 49,175
ลำปาง 56,611, เชียงราย 66,768
ภาคกลาง ได้แก่
พิจิตร 70,450 คน
นครสวรรค์ 86,901 คน
สุโขทัย 71,363 คน
กำแพงเพชร 95,371 คน !!!
นครปฐม 74,361 คน
สุพรรณบุรี 44,814 คน
* * ส่วนข้อมูลของประชากรจังหวัดอื่น ๆ อยู่ในภาพเลยครับ..
5 จังหวัดที่มีประชากรอาศัยอยู่จริงน้อยกว่า ประชากรตามทะเบียนราษฏรมาก ๆ
โดยกล่าวถึงสัดส่วนนะครับ
โดยมากนั้น จะเป็น
ภาคอีสาน ( ทุกจังหวัด )
ภาคเหนือ
ภาคกลางตอนบน
โดยภาคอีสานนั้น จะเด่นชัดที่สุด และ มากที่สุด
รองลงมาคือ ภาคกลางตอนบน
และ ภาคเหนือ
แต่ก็มีจังหวัดอื่นบ้างเล็กน้อย
เช่น สุพรรณบุรี นครปฐม กาญฯ ภาคกลางตอนล่าง
นครศรีธรรมราช ในภาคใต้
ส่วนในจังหวัดอื่น ๆ ในภาคใต้ และ ส่วนอื่น ๆ
จะไม่แตกต่าง หรือ น้อยกว่ามากนักครับ
พอจะอนุมานได้ว่า จำนวนประชากร
ที่อยู่นอกภูมิลำเนาของตนเองมีเยอะมาก
โดยเฉพาะ ภูมิภาคที่ยกมา
อีสาน เหนือ ภาคกลางตอนบนครับ
มีการโยกย้าย เดินทาง
กระจายไปอาศัยอยู่ที่อื่นนั่นเองครับ
เครดิต : สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ https://ucinfo.nhso.go.th/ucinfo
ระบบสถิติทางการทะเบียน กรมการปกครอง https://stat.bora.dopa.go.th/