พระมหาปิฎกฉบบัพิมพใ์นราชวงศห์ มิง
ในราชวงศ์หมิงมีการพิมพ์พระมหาปิฎกหลายฉบับ มีทั้งส่วนที่จัดท าจากการบริจาคจากจิตศรัทธาของประชาชน
และส่วนที่จัดท าโดยทุนทรัพย์ของฮ่องเต้ ซึ่งในยุคพระเจ้าหมิงเฉิงจู่ (明成祖) มีการจัดขึ้นจ านวน 2 ฉบับ
คือ พระมหาปิฎกหย่งเล่อฉบับเหนือ และฉบับใต้
โดยฉบับใต้ท าที่หนานจิงในขณะที่ฉบับเหนือท าที่เป่ยจิงหรือกรุงปักกิ่ง
ฉบับที่ท าด้วยทุนทรัพย์ฮ่องเต้
พระมหาปิฎกฉบับหงอู่หนานจั้ง (洪武南藏 ค.ศ. 1372-1399) หรือฉบับใต้ชุดพิมพ์ครั้งแรก(初刻南藏)
เป็นฉบับแรกที่สร้างขึ้นในสมัยราชวงศ์หมิง โดยราชโองการของหมิงไท่จู่ (明太祖)
จัดท าที่นครหนานจิง มีจ านวน 1,600 คัมภีร์ 7,000 ผูก ซึ่งต่อมาในปี ค.ศ. 1934
ฉบับพิมพ์นี้ถูกค้นพบที่มณฑลเสฉวน วัดซ่างกู่ (四川省崇庆县上古寺) และได้มอบให้หอสมุดแห่ง
ชาติปักกิ่งดูแลรักษา
ด้วยเหตุที่พระมหาปิฎกฉบับนี้ได้ถูกเผาท าลายไปในปี ค.ศ. 1408 พระเจ้าหมิงเฉิงจู่จึงมี
พระราชโองการให้แกะสลักและจัดพิมพ์ พระมหาปิฎกฉบับหย่งเล่อหนานจั้ง (永乐南藏 ค.ศ. 1412-1417)
หรือฉบับใต้ชุดพิมพ์ครั้งหลัง (再刻南藏) ขึ้น ณ หนานจิง วัดต้าเป้าเอิน มณฑลเจียงซู (南京
大报恩寺) มีจ านวน 1,610 คัมภีร์ 6,942 ผูก เนื่องจากมีราคาไม่แพง แต่ละวัดสามารถจัดหามีไว้ได้
จึงเป็ นฉบับที่แพร่หลายมาก จากนั้นไม่นานมีพระราชโองการให้ช าระพิมพ์ พระมหาปิฎก
ฉบับหย่งเล่อเป่ ยจั้ง (永乐北藏 ค.ศ.1421-1440) หรือพระมหาปิฎกฉบับเหนือ (北藏) ที่นครปักกิ่ง
เมื่อครั้งย้ายวังไปที่กรุงปักกิ่งเพื่อเป็นสิริมงคล ซึ่งเป็นฉบับที่มีความประณีตกว่าฉบับใต้ มีจ านวน
1,662 คัมภีร์6,924 ผูก ปัจจุบันถูกเก็บรักษาไว้ที่วัดจู้ฉง (祝崇寺)
ฉบับที่ได้มาจากเงินบริจาคของประชาชน
พระมหาปิฎกฉบับอู่หลิน (武林藏 ค.ศ. 1522-1566) เป็นฉบับท าซ ้าหรือฉบับคัดลอก
ของพระมหาปิฎกฉบับฉี้ซาและฉบับใต้ชุดพิมพ์ครั้งแรก จัดท าที่อู่หลิน มณฑลเจ้อเจียง ค้นพบ
บางส่วนในปี ค.ศ. 1982 ที่เมืองหังโจว มณฑลเจ้อเจียง อีกฉบับคือ พระมหาปิฎกฉบับเจียซิ่ง (嘉兴
藏 ค.ศ. 1589-1676) หรือฉบับจิ้งซาน (径山藏) จัดท าแกะสลักที่จิ้งซาน มณฑลเจ้อเจียง และ
ส่งต่อไปที่วัดเจียซิ่งเลิ่งเอี๋อน (嘉兴楞严寺) โดยฉบับนี้อาศัยพระมหาปิฎกฉบับเหนือเป็นพื้นฐานและ
เทียบช าระกับฉบับใต้ และยังเพิ่มส่วนคัมภีร์ต่อเนื่องหรือคัมภีร์นอกพระไตรปิฎก (续藏) จึงถือได้ว่า
เป็นฉบับที่สมบูรณ์และมีปริมาณมากที่สุด มีจ านวน 2,090 คัมภีร์ 12,600 ผูก และยังเป็นฉบับแรก
ที่มีการเข้าเล่มแบบเย็บเล่มหนังสือที่แตกต่างไปจากรูปแบบเดิมที่เป็นแบบพับคล้ายสมุดไทย
โดยในหนึ่งหน้าแบ่งเป็นครึ่งบนครึ่งล่าง แต่ละครึ่งหน้ามี 10 บรรทัด แต่ละบรรทัดมี 20 ตัวอักษร
ยิ่งกว่านั้นในท้ายเล่มจะเขียนค าอธิษฐานจิตรายนามเจ้าภาพ เวลา และสถานที่ที่แกะสลัก รวมถึง
ปัจจัยที่ใช้ในการจัดท า พระมหาปิฎกฉบับสมบูรณ์ยังมีเก็บรักษาไว้ที่วัดเจียซิ่ง กรุงปักกิ่ง (北平嘉兴
寺) วัดเซี่ยนฉิ่ง เขตตงถิงซีซาน (洞庭西山显庆寺)
พระมหาปิฎกฉบบัพิมพใ์นราชวงศช์ิงและสาธารณรฐัประชาชนจีน
พระมหาปิฎกฉบับชิงหลงจั้ง (清龙藏 ค.ศ. 1735-1738) หรือฉบับหลงจั้ง (龙藏)
พระเจ้าชิงซื่อจง (清世宗) ในรัชสมัยยงเจิ้ง (雍正) ปีที่ 13 (ค.ศ. 1735) มีพระราชโองการให้ช าระ
และพิมพ์ที่กรุงปักกิ่ง แล้วเสร็จในรัชสมัยของพระเจ้าเฉียนหลง ปีที่ 3 (ค.ศ. 1738) จึงเรียกกัน
ในอีกชื่อว่า เฉียนหลงต้าจั้งจิง (乾隆大藏经) จัดท าที่วัดเฉียนเหลียง กรุงปักกิ่ง ซึ่งได้สร้าง
หอพระไตรปิฎกเตรียมไว้เพื่อการพิมพ์ในครั้งนี้ในปี ค.ศ. 1733 มีบุคลากรในการจัดท าทั้งสิ้น
860 คน พระมหาปิฎกฉบับนี้ประกอบด้วย 2 ส่วน ส่วนแรกอาศัยพระมหาปิฎกฉบับเหนือเป็นพื้นฐาน
ส่วนที่ 2 คือส่วนที่เพิ่มเติมจากฉบับเหนือ (續藏) มีจ านวน 1,669 คัมภีร์ 7,168 ผูก สร้างจากแผ่น
แท่นพิมพ์ไม้จ านวนทั้งสิ้น 79,036 แผ่น แผ่นแท่นพิมพ์ไม้ปัจจุบันถูกเก็บรักษาไว้ที่วัดป๋ อหลิน
กรุงปักกิ่ง (柏林寺) ฉบับพิมพ์เก็บรักษาที่กรุงปักกิ่งและพิพิธภัณฑ์กู้กงไต้หวัน นับเป็นพระไตรปิฎก
ภาษาจีนฉบับสุดท้ายที่ได้รับการอุปถัมภ์การจัดสร้างโดยราชส านัก และได้มีการจัดพิมพ์ขึ้นใหม่ในปี
ค.ศ. 2002-2004 จ านวน 168 เล่ม ปัจจุบันสามารถจัดหาได้ในราคา 28,800 หยวน หรือ
144,000 บาทโดยประมาณ19
พระมหาปิฎกฉบับผินเจียจั้ง (频伽藏 ค.ศ. 1909-1913) หรือมีอีกชื่อเรียกว่าฉบับชิงจั้ง (清藏)
จัดท าโดยผินเจียวิหาร เซี่ยงไฮ้ อาศัยพระมหาปิฎกฉบับหงเจี้ยว (弘教藏)ของญี่ปุ่นเป็นพื้นฐาน
ลักษณะเป็นเล่มหนังสือ แต่ละหน้ามี 40 บรรทัด แต่ละบรรทัดมี 45 ตัวอักษรมีจ านวน 8,416 ผูก 413 เล่ม
พระมหาปิฎกฉบับจงหัว (中华大藏经 ค.ศ. 1984-ปัจจุบัน)
ในปี ค.ศ. 1982ส านักพิมพ์เป่ ยจิงจงหัวซูจุ๋ยได้จัดคณะบรรณาธิการในการจัดท าพระไตรปิฎกชุดนี้
โดยอาศัยพระมหาปิฎกฉบับจ้าวเฉิงเป็นพื้นฐานและช าระตรวจเทียบกับฉบับเกาหลีและฉบับอื่นอีก 8 ฉบับ
มีจ านวน 220 เล่ม 23,000 ผูก จัดพิมพ์โดยส านักพิมพ์เป่ยจิงจงหัวซูจุ๋ย กรุงปักกิ่ง (北京中华书局)
ปัจจุบันสามารถจัดหาได้ในราคา 32,000 หยวน หรือ 160,000 บาทโดยประมาณ
พระมหาปิฎกฉบบัพิมพป์ ัจจบุ นัที่นิยมและฉบบัอิเลก็ทรอนิกส์
พระมหาปิฎกฉบับไทโช (大正新脩大藏經) หรือพระไตรปิฎกภาษาจีนฉบับไทโช
มีชื่อเรียกว่า ต้าเจิ้งซินซิวต้าจ้างจิง (Dàzhèng Xīnxīu Dàzàngjīng) หรือมีชื่อย่อว่า ต้าเจิ้งจ้าง (大正
藏) หรือชื่อที่เรียกในส าเนียงญี่ปุ่นว่า ไทโช ชินชู ไดโซเคียว หรือย่อว่า ไทชินเคียว Japanese: Taishō
Shinshū Daizōkyō; lit. “Taishō Revised Tripiṭaka” เป็นชุดพระไตรปิฎกที่ได้รับการเรียบเรียง
โดยนักวิชาการญี่ปุ่น โดยเป็นพระไตรปิฎกภาษาจีนฉบับที่เป็นที่นิยมและใช้กันอย่างแพร่หลาย
พระไตรปิฎกภาษาจีนฉบับมหาปิฎกไทโชชุดนี้จัดท าในปี ค.ศ. 1924 โดยศาสตราจารย์
ทากากูซุ จุนจิโรและสมาคมวาตานาเบะ ไกเคียคุจัดพิมพ์พระมหาปิฎก (高楠順次郎和渡邊海旭
組織大正一切經刊行會) มีโอโนะ เกนเมียวและคณะ (小野玄妙等人) เป็ นบรรณาธิการ
รับผิดชอบช าระตรวจสอบต้นฉบับและเรียบเรียงแล้วเสร็จในปี ค.ศ. 193423 พระไตรปิฎกฉบับนี้ได้
อาศัยพระมหาปิฎกฉบับเกาหลีชุดแกะสลักพิมพ์หลังเป็ นฉบับหลักแล้วตรวจช าระเทียบกับ
พระมหาปิฎกต้นฉบับอื่น เช่น พระมหาปิฎกฉบับฉี้ตาน พระมหาปิฎกฉบับจินจ้าวเฉิง พระมหาปิฎก
ฉบับราชวงศ์หยวน พระมหาปิฎกฉบับราชวงศ์หมิง พระมหาปิฎกฉบับราชวงศ์ชิง เป็นต้น ถึงแม้ว่า
ข้อมูลในการจัดท าได้อย่างสมบูรณ์ แต่การรูปแบบการจัดพิมพ์ยังมีความผิดพลาดอยู่ สมาคมจัดพิมพ์
พระมหาปิฎกฉบับปรับปรุง (大正新修大藏經刊行會) จึงได้ท าการแก้ไขรูปแบบการพิมพ
ที่ผิดพลาดและพิมพ์ใหม่ในปีค.ศ. 1960 ทั้งหมด 100 เล่ม โดยรูปแบบ 1 หน้าประกอบด้วย 3 ส่วน
ส่วนละ 29 บรรทัด บรรทัดละ 16 ตัวอักษร 24 ปัจจุบันสามารถจัดหาได้ในราคาประมาณ
33,000 หยวน หรือ 165,000 บาทโดยประมาณ
พระมหาปิ ฎกฉบับอิเล็กทรอนิกส์ พระไตรปิ ฎกภาษาจีนฉบับไทโช หรือ
พระมหาปิฎกไทโช ได้ถูกน ามาแปลงเป็นรูปแบบอิเล็กทรอนิกส์เพื่อง่ายต่อการศึกษาค้นคว้า
ในปัจจุบันโดยแบ่งเป็น 2 ระบบ
1) ระบบ SAT (The SAT Daizōkyō Text Database)
จัดท าโดยคณะมนุษย์และสังคมศาสตร์มหาวิทยาลัยโตเกียว ประเทศญี่ปุ่น
ซึ่งเริ่มจัดท าในวันที่ 17 มีนาคม ค.ศ. 1998 โดยน าพระมหาปิฎกไทโช 1-85 เล่มลง
ในระบบ SAT ซึ่งเวอร์ชั่นแรก คือ SAT 2007 และเวอร์ชั่นล่าสุดคือ SAT 2018 โดยมีรูปแบบแสดง
เป็นระดับบรรทัด และมีฟังก์ชั่นในการสืบค้นค า หรือการสืบหาแบบระบุเล่มหน้า หรือข้อ25
2) ระบบ CBETA ซึ่งมีชื่อย่อมาจาก Chinese Buddhist Electronic Text Association
จัดท าโดยสมาคมคัมภีร์พระพุทธศาสนาจีนอิเล็กทรอนิกส์ประเทศไต้หวัน ร่วมกับสถาบัน
พุทธศาสตร์ศึกษาจงหัว (Chung-Hwa Institute of Buddhist Studies) สถาบันศิลปศาสตร์
ฝากู่ (Dharma Drum Institute of Liberal Arts) โดยมีมูลนิธิโพธิและมูลนิธิการศึกษา
ซีแลนด์ไทเปเป็นผู้สนับสนุน เริ่มจัดท าตั้งแต่ 15 กุมภาพันธ์ ค.ศ.1998 และได้รวบรวม
เป็นระบบอิเล็กทรอนิกส์แล้วเสร็จในปี ค.ศ. 2003 ในเล่มที่ 1-55 และเสร็จสมบูรณ์ทั้งหมด
88 เล่ม ในปี ค.ศ. 2008 หลังจากนั้นจึงได้รวบรวมคัมภีร์พระพุทธศาสนาที่ส าคัญ
นอกเหนือจากฉบับมหาปิฎกไทโชมาจนถึงปัจจุบัน ซึ่งเวอร์ชั่นแรก คือ V1.0 CBETA
2004 และเวอร์ชั่นล่าสุดคือ V 5.8 CBETA 2018
ระบบ CBETA สามารถใช้งานได้สะดวก มีการแสดงเนื้อหาเป็นย่อหน้าท าให้ง่าย
ต่อการอ่านและท าความเข้าใจ นอกจากนี้ยังมีฟังก์ชั่นต่าง ๆ ในการแสดงผลเลขบรรทัด
ทุกบรรทัด หรือแสดงเฉพาะย่อหน้า ตลอดจนมีฟังก์ชั่นในการสืบค้นในระดับค า ที่สามารถ
ก าหนดขอบเขตการเลือกเป็นแบบเฉพาะหมวดหรือในพระมหาปิฎกทั้งหมดก็ได้ รวมถึง
การสืบหาระบุเล่มหน้า หรือข้อ และการแสดงผลจ านวนค าที่ปรากฏในพระมหาปิฎก
ฉบับไทโชทั้งหมด รวมถึงสถิติเป็นกราฟที่แยกจ านวนค าที่ปรากฏแต่ละหมวดคัมภีร์
จ านวนค าที่ค้นหาจ าแนกตามปีอายุคัมภีร์ว่าค าที่ค้นหาถูกแปลในยุคใดมากที่สุด จ านวน
ค าที่ค้นหาจ าแนกตามผู้แปลซึ่งสามารถทราบว่าค านั้นใครใช้แปลมากที่สุด
ตอนต่อไป,.. องคป์ระกอบของพระไตรปิฎกภาษาจีนฉบบัไทโชหรือพระมหาปิฎกฉบบัไทโช
เรื่องเล่าพระไตรปิกฎก...ตอนที่-5 :...มหาปิฎกภาษาจีนราชวงค์หมิง....ถึง...ราชวงศ์ชิงและสาธารณรฐัประชาชนจีน
ในราชวงศ์หมิงมีการพิมพ์พระมหาปิฎกหลายฉบับ มีทั้งส่วนที่จัดท าจากการบริจาคจากจิตศรัทธาของประชาชน
และส่วนที่จัดท าโดยทุนทรัพย์ของฮ่องเต้ ซึ่งในยุคพระเจ้าหมิงเฉิงจู่ (明成祖) มีการจัดขึ้นจ านวน 2 ฉบับ
คือ พระมหาปิฎกหย่งเล่อฉบับเหนือ และฉบับใต้
โดยฉบับใต้ท าที่หนานจิงในขณะที่ฉบับเหนือท าที่เป่ยจิงหรือกรุงปักกิ่ง
ฉบับที่ท าด้วยทุนทรัพย์ฮ่องเต้
พระมหาปิฎกฉบับหงอู่หนานจั้ง (洪武南藏 ค.ศ. 1372-1399) หรือฉบับใต้ชุดพิมพ์ครั้งแรก(初刻南藏)
เป็นฉบับแรกที่สร้างขึ้นในสมัยราชวงศ์หมิง โดยราชโองการของหมิงไท่จู่ (明太祖)
จัดท าที่นครหนานจิง มีจ านวน 1,600 คัมภีร์ 7,000 ผูก ซึ่งต่อมาในปี ค.ศ. 1934
ฉบับพิมพ์นี้ถูกค้นพบที่มณฑลเสฉวน วัดซ่างกู่ (四川省崇庆县上古寺) และได้มอบให้หอสมุดแห่ง
ชาติปักกิ่งดูแลรักษา
ด้วยเหตุที่พระมหาปิฎกฉบับนี้ได้ถูกเผาท าลายไปในปี ค.ศ. 1408 พระเจ้าหมิงเฉิงจู่จึงมี
พระราชโองการให้แกะสลักและจัดพิมพ์ พระมหาปิฎกฉบับหย่งเล่อหนานจั้ง (永乐南藏 ค.ศ. 1412-1417)
หรือฉบับใต้ชุดพิมพ์ครั้งหลัง (再刻南藏) ขึ้น ณ หนานจิง วัดต้าเป้าเอิน มณฑลเจียงซู (南京
大报恩寺) มีจ านวน 1,610 คัมภีร์ 6,942 ผูก เนื่องจากมีราคาไม่แพง แต่ละวัดสามารถจัดหามีไว้ได้
จึงเป็ นฉบับที่แพร่หลายมาก จากนั้นไม่นานมีพระราชโองการให้ช าระพิมพ์ พระมหาปิฎก
ฉบับหย่งเล่อเป่ ยจั้ง (永乐北藏 ค.ศ.1421-1440) หรือพระมหาปิฎกฉบับเหนือ (北藏) ที่นครปักกิ่ง
เมื่อครั้งย้ายวังไปที่กรุงปักกิ่งเพื่อเป็นสิริมงคล ซึ่งเป็นฉบับที่มีความประณีตกว่าฉบับใต้ มีจ านวน
1,662 คัมภีร์6,924 ผูก ปัจจุบันถูกเก็บรักษาไว้ที่วัดจู้ฉง (祝崇寺)
ฉบับที่ได้มาจากเงินบริจาคของประชาชน
พระมหาปิฎกฉบับอู่หลิน (武林藏 ค.ศ. 1522-1566) เป็นฉบับท าซ ้าหรือฉบับคัดลอก
ของพระมหาปิฎกฉบับฉี้ซาและฉบับใต้ชุดพิมพ์ครั้งแรก จัดท าที่อู่หลิน มณฑลเจ้อเจียง ค้นพบ
บางส่วนในปี ค.ศ. 1982 ที่เมืองหังโจว มณฑลเจ้อเจียง อีกฉบับคือ พระมหาปิฎกฉบับเจียซิ่ง (嘉兴
藏 ค.ศ. 1589-1676) หรือฉบับจิ้งซาน (径山藏) จัดท าแกะสลักที่จิ้งซาน มณฑลเจ้อเจียง และ
ส่งต่อไปที่วัดเจียซิ่งเลิ่งเอี๋อน (嘉兴楞严寺) โดยฉบับนี้อาศัยพระมหาปิฎกฉบับเหนือเป็นพื้นฐานและ
เทียบช าระกับฉบับใต้ และยังเพิ่มส่วนคัมภีร์ต่อเนื่องหรือคัมภีร์นอกพระไตรปิฎก (续藏) จึงถือได้ว่า
เป็นฉบับที่สมบูรณ์และมีปริมาณมากที่สุด มีจ านวน 2,090 คัมภีร์ 12,600 ผูก และยังเป็นฉบับแรก
ที่มีการเข้าเล่มแบบเย็บเล่มหนังสือที่แตกต่างไปจากรูปแบบเดิมที่เป็นแบบพับคล้ายสมุดไทย
โดยในหนึ่งหน้าแบ่งเป็นครึ่งบนครึ่งล่าง แต่ละครึ่งหน้ามี 10 บรรทัด แต่ละบรรทัดมี 20 ตัวอักษร
ยิ่งกว่านั้นในท้ายเล่มจะเขียนค าอธิษฐานจิตรายนามเจ้าภาพ เวลา และสถานที่ที่แกะสลัก รวมถึง
ปัจจัยที่ใช้ในการจัดท า พระมหาปิฎกฉบับสมบูรณ์ยังมีเก็บรักษาไว้ที่วัดเจียซิ่ง กรุงปักกิ่ง (北平嘉兴
寺) วัดเซี่ยนฉิ่ง เขตตงถิงซีซาน (洞庭西山显庆寺)
พระมหาปิฎกฉบบัพิมพใ์นราชวงศช์ิงและสาธารณรฐัประชาชนจีน
พระมหาปิฎกฉบับชิงหลงจั้ง (清龙藏 ค.ศ. 1735-1738) หรือฉบับหลงจั้ง (龙藏)
พระเจ้าชิงซื่อจง (清世宗) ในรัชสมัยยงเจิ้ง (雍正) ปีที่ 13 (ค.ศ. 1735) มีพระราชโองการให้ช าระ
และพิมพ์ที่กรุงปักกิ่ง แล้วเสร็จในรัชสมัยของพระเจ้าเฉียนหลง ปีที่ 3 (ค.ศ. 1738) จึงเรียกกัน
ในอีกชื่อว่า เฉียนหลงต้าจั้งจิง (乾隆大藏经) จัดท าที่วัดเฉียนเหลียง กรุงปักกิ่ง ซึ่งได้สร้าง
หอพระไตรปิฎกเตรียมไว้เพื่อการพิมพ์ในครั้งนี้ในปี ค.ศ. 1733 มีบุคลากรในการจัดท าทั้งสิ้น
860 คน พระมหาปิฎกฉบับนี้ประกอบด้วย 2 ส่วน ส่วนแรกอาศัยพระมหาปิฎกฉบับเหนือเป็นพื้นฐาน
ส่วนที่ 2 คือส่วนที่เพิ่มเติมจากฉบับเหนือ (續藏) มีจ านวน 1,669 คัมภีร์ 7,168 ผูก สร้างจากแผ่น
แท่นพิมพ์ไม้จ านวนทั้งสิ้น 79,036 แผ่น แผ่นแท่นพิมพ์ไม้ปัจจุบันถูกเก็บรักษาไว้ที่วัดป๋ อหลิน
กรุงปักกิ่ง (柏林寺) ฉบับพิมพ์เก็บรักษาที่กรุงปักกิ่งและพิพิธภัณฑ์กู้กงไต้หวัน นับเป็นพระไตรปิฎก
ภาษาจีนฉบับสุดท้ายที่ได้รับการอุปถัมภ์การจัดสร้างโดยราชส านัก และได้มีการจัดพิมพ์ขึ้นใหม่ในปี
ค.ศ. 2002-2004 จ านวน 168 เล่ม ปัจจุบันสามารถจัดหาได้ในราคา 28,800 หยวน หรือ
144,000 บาทโดยประมาณ19
พระมหาปิฎกฉบับผินเจียจั้ง (频伽藏 ค.ศ. 1909-1913) หรือมีอีกชื่อเรียกว่าฉบับชิงจั้ง (清藏)
จัดท าโดยผินเจียวิหาร เซี่ยงไฮ้ อาศัยพระมหาปิฎกฉบับหงเจี้ยว (弘教藏)ของญี่ปุ่นเป็นพื้นฐาน
ลักษณะเป็นเล่มหนังสือ แต่ละหน้ามี 40 บรรทัด แต่ละบรรทัดมี 45 ตัวอักษรมีจ านวน 8,416 ผูก 413 เล่ม
พระมหาปิฎกฉบับจงหัว (中华大藏经 ค.ศ. 1984-ปัจจุบัน)
ในปี ค.ศ. 1982ส านักพิมพ์เป่ ยจิงจงหัวซูจุ๋ยได้จัดคณะบรรณาธิการในการจัดท าพระไตรปิฎกชุดนี้
โดยอาศัยพระมหาปิฎกฉบับจ้าวเฉิงเป็นพื้นฐานและช าระตรวจเทียบกับฉบับเกาหลีและฉบับอื่นอีก 8 ฉบับ
มีจ านวน 220 เล่ม 23,000 ผูก จัดพิมพ์โดยส านักพิมพ์เป่ยจิงจงหัวซูจุ๋ย กรุงปักกิ่ง (北京中华书局)
ปัจจุบันสามารถจัดหาได้ในราคา 32,000 หยวน หรือ 160,000 บาทโดยประมาณ
พระมหาปิฎกฉบบัพิมพป์ ัจจบุ นัที่นิยมและฉบบัอิเลก็ทรอนิกส์
พระมหาปิฎกฉบับไทโช (大正新脩大藏經) หรือพระไตรปิฎกภาษาจีนฉบับไทโช
มีชื่อเรียกว่า ต้าเจิ้งซินซิวต้าจ้างจิง (Dàzhèng Xīnxīu Dàzàngjīng) หรือมีชื่อย่อว่า ต้าเจิ้งจ้าง (大正
藏) หรือชื่อที่เรียกในส าเนียงญี่ปุ่นว่า ไทโช ชินชู ไดโซเคียว หรือย่อว่า ไทชินเคียว Japanese: Taishō
Shinshū Daizōkyō; lit. “Taishō Revised Tripiṭaka” เป็นชุดพระไตรปิฎกที่ได้รับการเรียบเรียง
โดยนักวิชาการญี่ปุ่น โดยเป็นพระไตรปิฎกภาษาจีนฉบับที่เป็นที่นิยมและใช้กันอย่างแพร่หลาย
พระไตรปิฎกภาษาจีนฉบับมหาปิฎกไทโชชุดนี้จัดท าในปี ค.ศ. 1924 โดยศาสตราจารย์
ทากากูซุ จุนจิโรและสมาคมวาตานาเบะ ไกเคียคุจัดพิมพ์พระมหาปิฎก (高楠順次郎和渡邊海旭
組織大正一切經刊行會) มีโอโนะ เกนเมียวและคณะ (小野玄妙等人) เป็ นบรรณาธิการ
รับผิดชอบช าระตรวจสอบต้นฉบับและเรียบเรียงแล้วเสร็จในปี ค.ศ. 193423 พระไตรปิฎกฉบับนี้ได้
อาศัยพระมหาปิฎกฉบับเกาหลีชุดแกะสลักพิมพ์หลังเป็ นฉบับหลักแล้วตรวจช าระเทียบกับ
พระมหาปิฎกต้นฉบับอื่น เช่น พระมหาปิฎกฉบับฉี้ตาน พระมหาปิฎกฉบับจินจ้าวเฉิง พระมหาปิฎก
ฉบับราชวงศ์หยวน พระมหาปิฎกฉบับราชวงศ์หมิง พระมหาปิฎกฉบับราชวงศ์ชิง เป็นต้น ถึงแม้ว่า
ข้อมูลในการจัดท าได้อย่างสมบูรณ์ แต่การรูปแบบการจัดพิมพ์ยังมีความผิดพลาดอยู่ สมาคมจัดพิมพ์
พระมหาปิฎกฉบับปรับปรุง (大正新修大藏經刊行會) จึงได้ท าการแก้ไขรูปแบบการพิมพ
ที่ผิดพลาดและพิมพ์ใหม่ในปีค.ศ. 1960 ทั้งหมด 100 เล่ม โดยรูปแบบ 1 หน้าประกอบด้วย 3 ส่วน
ส่วนละ 29 บรรทัด บรรทัดละ 16 ตัวอักษร 24 ปัจจุบันสามารถจัดหาได้ในราคาประมาณ
33,000 หยวน หรือ 165,000 บาทโดยประมาณ
พระมหาปิ ฎกฉบับอิเล็กทรอนิกส์ พระไตรปิ ฎกภาษาจีนฉบับไทโช หรือ
พระมหาปิฎกไทโช ได้ถูกน ามาแปลงเป็นรูปแบบอิเล็กทรอนิกส์เพื่อง่ายต่อการศึกษาค้นคว้า
ในปัจจุบันโดยแบ่งเป็น 2 ระบบ
1) ระบบ SAT (The SAT Daizōkyō Text Database)
จัดท าโดยคณะมนุษย์และสังคมศาสตร์มหาวิทยาลัยโตเกียว ประเทศญี่ปุ่น
ซึ่งเริ่มจัดท าในวันที่ 17 มีนาคม ค.ศ. 1998 โดยน าพระมหาปิฎกไทโช 1-85 เล่มลง
ในระบบ SAT ซึ่งเวอร์ชั่นแรก คือ SAT 2007 และเวอร์ชั่นล่าสุดคือ SAT 2018 โดยมีรูปแบบแสดง
เป็นระดับบรรทัด และมีฟังก์ชั่นในการสืบค้นค า หรือการสืบหาแบบระบุเล่มหน้า หรือข้อ25
2) ระบบ CBETA ซึ่งมีชื่อย่อมาจาก Chinese Buddhist Electronic Text Association
จัดท าโดยสมาคมคัมภีร์พระพุทธศาสนาจีนอิเล็กทรอนิกส์ประเทศไต้หวัน ร่วมกับสถาบัน
พุทธศาสตร์ศึกษาจงหัว (Chung-Hwa Institute of Buddhist Studies) สถาบันศิลปศาสตร์
ฝากู่ (Dharma Drum Institute of Liberal Arts) โดยมีมูลนิธิโพธิและมูลนิธิการศึกษา
ซีแลนด์ไทเปเป็นผู้สนับสนุน เริ่มจัดท าตั้งแต่ 15 กุมภาพันธ์ ค.ศ.1998 และได้รวบรวม
เป็นระบบอิเล็กทรอนิกส์แล้วเสร็จในปี ค.ศ. 2003 ในเล่มที่ 1-55 และเสร็จสมบูรณ์ทั้งหมด
88 เล่ม ในปี ค.ศ. 2008 หลังจากนั้นจึงได้รวบรวมคัมภีร์พระพุทธศาสนาที่ส าคัญ
นอกเหนือจากฉบับมหาปิฎกไทโชมาจนถึงปัจจุบัน ซึ่งเวอร์ชั่นแรก คือ V1.0 CBETA
2004 และเวอร์ชั่นล่าสุดคือ V 5.8 CBETA 2018
ระบบ CBETA สามารถใช้งานได้สะดวก มีการแสดงเนื้อหาเป็นย่อหน้าท าให้ง่าย
ต่อการอ่านและท าความเข้าใจ นอกจากนี้ยังมีฟังก์ชั่นต่าง ๆ ในการแสดงผลเลขบรรทัด
ทุกบรรทัด หรือแสดงเฉพาะย่อหน้า ตลอดจนมีฟังก์ชั่นในการสืบค้นในระดับค า ที่สามารถ
ก าหนดขอบเขตการเลือกเป็นแบบเฉพาะหมวดหรือในพระมหาปิฎกทั้งหมดก็ได้ รวมถึง
การสืบหาระบุเล่มหน้า หรือข้อ และการแสดงผลจ านวนค าที่ปรากฏในพระมหาปิฎก
ฉบับไทโชทั้งหมด รวมถึงสถิติเป็นกราฟที่แยกจ านวนค าที่ปรากฏแต่ละหมวดคัมภีร์
จ านวนค าที่ค้นหาจ าแนกตามปีอายุคัมภีร์ว่าค าที่ค้นหาถูกแปลในยุคใดมากที่สุด จ านวน
ค าที่ค้นหาจ าแนกตามผู้แปลซึ่งสามารถทราบว่าค านั้นใครใช้แปลมากที่สุด
ตอนต่อไป,.. องคป์ระกอบของพระไตรปิฎกภาษาจีนฉบบัไทโชหรือพระมหาปิฎกฉบบัไทโช