🇹🇭มาลาริน💜5มี.ค.ไม่ติดTop10โลก/ป่วย22,818คน หายป่วย18,462คน ตาย52คน/WHO ประเมินสมรรถนะไทยรับมือโควิดดีมาก คาดจบก.ค.


https://www.sanook.com/news/8527130/

https://www.bangkokbiznews.com/social/991910



https://www.thairath.co.th/news/local/2333505

เพี้ยนแข็งแรง ติดตามข่าวโควิดวันนี้ค่ะ

ข่าวดีค่ะ...WHO ประเมินสมรรถนะไทยรับมือโควิด-19 "ดีมาก" คาดเป็นโรคประจำถิ่น ก.ค. 65

ใกล้จบแล้วค่ะ....อมยิ้ม36
.....💗💗.
คำตอบที่ได้รับเลือกจากเจ้าของกระทู้
ความคิดเห็นที่ 18

[Spoil] คลิกเพื่อดูข้อความที่ซ่อนไว้
"อว. เผยฉีดวัคซีนของไทย ณ วันที่ 4 มีนาคม 2565 ฉีดวัคซีนแล้ว 124,396,024 โดส และทั่วโลกแล้ว 10,849 ล้านโดส ใน 205 ประเทศ/เขตปกครอง ส่วนอาเซียนฉีดแล้วทุกประเทศ รวมกันกว่า 978.4 ล้านโดส โดยกรุงเทพฯ ยังเป็นพื้นที่ฉีดวัคซีนเข็ม 1 มากสุด (114.2%)

(4 มีนาคม 2565) กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (อว.) เผยข้อมูลสถิติการฉีดวัคซีนโควิด-19 ทั่วโลกแล้ว 10,849 ล้านโดส ใน 205 ประเทศ/เขตปกครอง โดยขณะนี้อัตราการฉีดล่าสุดรวมกันทั่วโลกที่ 33.2 ล้านโดสต่อวัน และมีแนวโน้มที่เพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง ในขณะที่สหรัฐอเมริกามีจำนวนการฉีดวัคซีนสูงที่สุดที่ 554 ล้านโดส โดยมีชาวอเมริกันกว่า 216 ล้านคนได้รับวัคซีนครบ 2 โดสแล้ว"

ด้านอาเซียนขณะนี้ทุกประเทศได้ฉีดวัคซีนป้องกันโรคโควิด-19 แล้ว มียอดรวมกันที่ประมาณ 978.4 ล้านโดส โดยบรูไนฉีดวัคซีนในสัดส่วนประชากรมากที่สุดในภูมิภาค (95% ของประชากร) ในขณะที่อินโดนีเซียฉีดวัคซีนในจำนวนมากที่สุดที่ 349.6 ล้านโดส สำหรับประเทศไทยข้อมูล ณ วันที่ 4 มีนาคม 2565 ได้ฉีดวัคซีนแล้วกว่า 124,396,024 โดส

ในการฉีดวัคซีน จำนวน 10,849 ล้านโดสนี้ อว. ขอรายงานสถิติที่สำคัญ คือ

1) ข้อมูลการฉีดวัคซีนล่าสุดของประเทศไทย ณ วันที่ 4 มีนาคม 2565  
จำนวนการฉีดวัคซีนสะสม  124,396,024 โดส ใน 77 จังหวัด แบ่งเป็น
-เข็มแรก 53,780,157 โดส (81.3% ของประชากร)
-เข็มสอง 49,811,504 โดส (75.3% ของประชากร)
-เข็มสาม 20,804,363 โดส (31.4% ของประชากร)

2) อัตราการฉีดวัคซีนตั้งแต่ 28 ก.พ. 64 – 4 มี.ค. 65 พบว่า ประเทศไทยฉีดวัคซีนแล้ว 124,187,243 โดส ฉีดเพิ่มขึ้น 150,694 โดส (อัตราการฉีดล่าสุดเฉลี่ย 3 วันย้อนหลัง ตั้งแต่วันที่ 7 มิ.ย. 64 ซึ่งเป็นการฉีดวัคซีนวาระแห่งชาติ 244,839 โดส/วัน

3) อัตราการฉีดวัคซีน ประกอบด้วย
วัคซีน Sinovac
- เข็มที่ 1 22,903,066 โดส
- เข็มที่ 2 3,599,342 โดส
- เข็มที่ 3 0 โดส

วัคซีน AstraZeneca
- เข็มที่ 1 13,899,282 โดส
- เข็มที่ 2 28,468,421 โดส
- เข็มที่ 3 5,043,385 โดส

วัคซีน Sinopharm
- เข็มที่ 1 7,544,984 โดส
- เข็มที่ 2 7,237,889 โดส
- เข็มที่ 3 0 โดส

วัคซีน Pfizer
- เข็มที่ 1 8,679,001 โดส
- เข็มที่ 2 9,656,017 โดส
- เข็มที่ 3 12,547,103 โดส

วัคซีน Moderna
- เข็มที่ 1 752,691 โดส
- เข็มที่ 2 849,236 โดส
- เข็มที่ 3 3,213,875โดส

4) 10 จังหวัดที่มีการฉีดวัคซีนเข็มที่ 3 ครอบคลุมประชากรสูงที่สุด
1. ภูเก็ต เข็มที่1 91.8% เข็มที่2 87.4% เข็มที่3 80.2%
2. กรุงเทพมหานคร เข็มที่1 114.2% เข็มที่2 105.1% เข็มที่3 64.5%
3. นนทบุรี เข็มที่1 82.4% เข็มที่2 78.5% เข็มที่3 58.5%
4. สมุทรปราการ เข็มที่1 92.4% เข็มที่2 81.2% เข็มที่3 55.9%
5. อยุธยา เข็มที่1 74.9% เข็มที่2 71.7% เข็มที่3 41.4%
6. ระยอง เข็มที่1 85.1% เข็มที่2 81% เข็มที่3 40.8%
7. ลำพูน เข็มที่1 81.7% เข็มที่2 78% เข็มที่3 40.2%
8. ชลบุรี เข็มที่1 83.5% เข็มที่2 79.4% เข็มที่3 36.5%
9. นครปฐม เข็มที่1 77.8% เข็มที่2 76.4% เข็มที่3 34.7%
10. ฉะเชิงเทรา เข็มที่1 82.5% เข็มที่2 69.9% เข็มที่3 34.4%

10 จังหวัดที่มีการฉีดวัคซีนเข็มที่ 3 ครอบคลุมประชากรต่ำที่สุด
1. ปัตตานี เข็มที่1 57.1% เข็มที่2 45.6% เข็มที่3 6.4%
2. นราธิวาส เข็มที่1 55.7% เข็มที่2 44.9% เข็มที่3 6.4%
3. ยะลา เข็มที่1 63.3% เข็มที่2 52.4% เข็มที่3 9%
4. บึงกาฬ เข็มที่1 64.5% เข็มที่2 56.6% เข็มที่3 9.4%
5. หนองบัวลำภู  เข็มที่1 63.4% เข็มที่2 58% เข็มที่3 10.6%
6. สตูล เข็มที่1 65.4% เข็มที่2 60.2% เข็มที่3 11.1%
7. สกลนคร เข็มที่1 66.4% เข็มที่2 60% เข็มที่3 12.3%
8. แม่ฮ่องสอน เข็มที่1 59.2% เข็มที่2 50% เข็มที่3 12.5%
9. กาฬสินธุ์ เข็มที่1 67.2% เข็มที่2 60.5% เข็มที่3 12.7%
10. อำนาจเจริญ เข็มที่1 70.8% เข็มที่2 65.2% เข็มที่3 12.8%

5) ในภูมิภาคอาเซียน ได้ฉีดวัคซีนแล้วครบ 10 ประเทศ รวมจำนวน 978,411,196โดส ได้แก่
1. อินโดนีเซีย จำนวน 349,675,863 โดส (69.5%* ของประชากร) ฉีดวัคซีนของ Sinovac, AstraZeneca, Moderna และ Sinopharm
2. เวียดนาม จำนวน 195,672,969 โดส (81.4%* ของประชากร) ฉีดวัคซีนของ AstraZeneca, Pfizer, Moderna และ Sinopharm
3. ฟิลิปปินส์ จำนวน 135,747,294 โดส (56.2%* ของประชากร) ฉีดวัคซีนของ Sinovac, Pfizer, Sputnik V, Moderna, J&J และ AstraZeneca  
4. ไทย จำนวน 124,396,024 โดส (81.3%* ของประชากร)  ฉีดวัคซีนของ Pfizer, Sinovac, AstraZeneca และ Sinopharm
5. มาเลเซีย จำนวน 67,516,578 โดส (83%* ของประชากร) ฉีดวัคซีนของ Pfizer, AstraZeneca และ Sinovac  
6. พม่า จำนวน 44,685,868 โดส (43.2%* ของประชากร) ฉีดวัคซีนของ AstraZeneca และ Sinopharm
7. กัมพูชา จำนวน 36,824,804 โดส (86.7%* ของประชากร) ฉีดวัคซีนของ Sinopharm, AstraZeneca, J&J และ Sinovac
8. สิงคโปร์ จำนวน 13,572,663 โดส (92%* ของประชากร) ฉีดวัคซีนของ Pfizer, Moderna และ Sinovac
9.  ลาว จำนวน 9,292,290 โดส (67.4%* ของประชากร) ฉีดวัคซีนของ Sinopharm, Sputnik V, Pfizer, J&J, Sinovac และ AstraZeneca
10. บรูไน จำนวน 1,026,843 โดส (95%* ของประชากร) ฉีดวัคซีนของ AstraZeneca และ Sinopharm
* คำนวณจากจำนวนฉีด/จำนวนประชากร อย่างน้อย 1 เข็ม

6) จำนวนการฉีดวัคซีนแยกตามภูมิภาค
1. เอเชียและตะวันออกกลาง 69.66%
2. ยุโรป 10.16%
3. อเมริกาเหนือ 8.60%
4. ลาตินอเมริกาและแคริบเบียน 7.16%
5. แอฟริกา 3.80%
6. โอเชียเนีย 0.62%

7) ประเทศที่ฉีดวัคซีนแล้วมากที่สุด 5 ประเทศลำดับแรกที่ฉีดวัคซีนมากกว่า 100 ล้านโดส รวมกันเกือบ 70% ของปริมาณการฉีดวัคซีนทั่วโลก
1. จีน จำนวน 3,141.47 ล้านโดส (222.1% ของจำนวนโดสที่ฉีดต่อประชากร)
2. อินเดีย จำนวน 1,782.08 ล้านโดส (129.3%)
3. สหรัฐอเมริกา จำนวน 554.21ล้านโดส (165.3%)
4. บราซิล จำนวน 392.93 ล้านโดส (185.6%)
5. อินโดนีเซีย  จำนวน 349.68ล้านโดส (126.7%)

8) ประเทศที่ฉีดวัคซีนครอบคลุมประชากรมากที่สุด มี 10 ประเทศที่ฉีดวัคซีนให้กับประชากรอย่างน้อย 25% แล้ว ได้แก่ (เฉพาะประเทศที่มีประชากรมากกว่า 500,000 คน)
1. คิวบา (308.8%) (ฉีดวัคซีนของ  Abdala และ Soberana02)
2. สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ (260.6%) (ฉีดวัคซีนของ AstraZeneca/Oxford, Pfizer/BioNTech, Sinopharm และ Gamaleya)
3. ชิลี (251.6%) (ฉีดวัคซีนของ AstraZeneca/Oxford, CanSino, Pfizer/BioNTech และ Sinovac)
4. เกาหลีใต้  (247.4%) (ฉีดวัคซีนของ Pfizer/BioNTech J&J AstraZeneca/Oxford และ  Moderna)
5. มัลดีฟส์ (239%) (ฉีดวัคซีนของ AstraZeneca/Oxford, Pfizer/BioNTech และ Sinopharm)
6. กาตาร์ (236.8%) (ฉีดวัคซีนของ Pfizer และ Moderma)
7. ฝรั่งเศส (235%) (ฉีดวัคซีนของ Pfizer/BioNTech, Moderna, J&J และ AstraZeneca/Oxford)
8.บรูไน (232.9%) (ฉีดวัคซีนของ AstraZeneca/Oxford และ Sinopharm)  
9. บาห์เรน (231.2%) (ฉีดวัคซีนของ AstraZeneca/Oxford, Pfizer/BioNTech, Sinopharm และ Gamaley)
10. สิงคโปร์ (230.5%) (ฉีดวัคซีนของ Pfizer/BioNTech Moderna และ Sinovac)

แหล่งข้อมูล Bloomberg Vaccine Tracker, กระทรวงสาธารณสุข
ประมวลข้อมูลโดย กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (อว.)
https://web.facebook.com/nrctofficial/posts/269703592017747
แสดงความคิดเห็น
โปรดศึกษาและยอมรับนโยบายข้อมูลส่วนบุคคลก่อนเริ่มใช้งาน อ่านเพิ่มเติมได้ที่นี่