.
พักหลังมานี้เชื่อว่าบางคนน่าจะเห็นโฆษณาประกันสัตว์เลี้ยงเยอะขึ้นเรื่อยๆ ถ้าใครมีข้อสงสัยเกี่ยวกับประกันสัตว์เลี้ยง ไม่ว่าจะต้องอายุเท่าไหร่ถึงจะทำได้? ต้องตรวจสุขภาพก่อนไหม? หมากัดเจ้าของทำได้หรือเปล่า?
ผมเลยขอเสนอตัวมารวบรวมปัญหาและข้อสงสัยให้ และจะตอบทั้งหมดในกระทู้นี้เลยคร้าบบ
1. ก่อนจะซื้อประกันสัตว์เลี้ยงอาจจะมีข้อสงสัยว่า จะต้องตรวจสุขภาพก่อนหรือเปล่า? อันที่จริงแล้วในขั้นตอนการซื้อจะมีให้กรอกพวกอายุของน้องๆ และยังมีสอบถามในเรื่องของวัคซีนเพื่อนำเสนอแผนประกันให้ ดังนั้นจะดีกว่าถ้าน้องหมาน้องแมวผ่านการตรวจสุขภาพและฉีดวัคซีนมาแล้วเรียบร้อย
2. ว่ากันต่อด้วยเรื่องของวัคซีน หลังจากทำประกันแล้วถ้าจะพาน้องๆไปฉีดวัคซีนป้องกันโรคเพิ่มเติม ก็สามารถเบิกได้ แต่!! ต้องเป็นวัคซีนเพื่อป้องกันโรคเท่านั้นนะ พวกวัคซีนที่ผลต่อความสวยงามหรือนอกเหนือจากป้องกันโรคล่ะก็ จะไม่สามารถเบิกได้ครับ อ้อ ส่วนถ้าฉีดแล้วมาทำประกัน จะไม่สามารถเบิกได้นะครับ เพราะกรมธรรม์จะไม่มีผลคุ้มครองย้อนหลังครับผม
3. ต่อมาเป็นเรื่องของการทำหมัน … สำหรับน้องหมาน้องแมววัยรุ่นที่ผ่านช่วงฮีทแล้วคุณเจ้าของพาไปทำหมันเรียบร้อย สามารถซื้อประกันสัตว์เลี้ยงกับทิพยประกันภัยได้สบายหายห่วงเลยครับ
4. ตามมาด้วยเรื่องของการบาดเจ็บ/เจ็บป่วย จริงๆ แล้วประกันสัตว์เลี้ยงก็คล้ายๆพวกประกันสุขภาพของคน ที่ก่อนทำประกันจะต้องสุขภาพแข็งแรง ไม่บาดเจ็บ ไม่เจ็บป่วย ไม่ผ่านการผ่าตัดจากการเจ็บป่วย หรือพิการมาก่อนทำประกันนะครับ อย่างถ้าน้องเคยขาหักมาก่อนแบบนี้ก็จะทำได้เพียงบางแผนประกันเท่านั้นนะครับ
ส่วนหลังจากทำประกันแล้วจะเจ็บจะป่วยประกันก็คุ้มครองครับ แต่! ขออีกแต่ครับ การเจ็บป่วยจะมีระยะเวลารอคอย 60 นะครับ หลังจาก 60 วันแล้วจะทำเรื่องเบิกเคลมได้ ยกเว้นถ้าทำประกันปุ๊บ น้องตกบันไดปั๊บ หรือเกิดอุบัติเหตุขึ้นกับน้อง ก็สามารถทำเรื่องเบิกค่ารักษาได้ครับ เพราะอุบัติเหตุจะคุ้มครองวันถัดไปหลังจากทำประกันแล้ว
5. อีกหนึ่งข้อยอดฮิต ที่หลายคนค้างคาใจและมีคำถามเข้ามามากกกที่สุด นั่นก็คือเรื่องของเจ้าของนี่แหละครับ หลายคนสงสัยว่า ถ้าน้องหมากัดเจ้าของ หรือน้องหมาทำลายทรัพย์สินภายในบ้าน แบบนี้คุ้มครองไหม? ตอบตรงนี้ชัดๆ เลยนะครับว่า ไม่ได้คุ้มครองครับ เพราะประกันจะคุ้มครองเมื่อน้องๆ ไปทำลายทรัพย์สินหรือร่างกายของบุคคลภายนอกเท่านั้น
6. ข้อสุดท้ายที่คนถามเข้ามาไม่น้อยไปกว่าข้อที่แล้วเลยครับ กับเรื่องบุคคลภายนอก ประกันจะคุ้มครองทั้งร่างกาย ทั้งทรัพย์สินของคนอื่นทั้งหมดเลยครับ ถ้าน้องหมา น้องแมวเราหลุดไปตะกรุยเฟอร์นิเจอร์บ้านอื่น กัดข้าวของ หรือข่วนชาวบ้านชาวช่อง ตรงนี้จะสามารถเบิกได้ตามปกติเลยครับ
แต่แน่นอนว่า หลายคนคงเคยเอะใจว่า อ้าว แล้วถ้าคนอื่นในครอบครัว ถือเป็นบุคคลภายนอกหรือเปล่า? ไม่ใช่นะครับ คนในครอบครัว คนในบ้าน จะไม่ถูกนับรวมเป็นบุคคลภายนอกนะครับผม เพราะฉะนั้นถ้าน้องหมาน้องแมวไปกัดไปข่วนพี่สาว น้องชายในบ้าน ก็จะไม่ได้รับความคุ้มครองในส่วนนี้คร้าบบบ
เป็นยังไงกันบ้างกับข้อสงสัยต่างๆเกี่ยวกับประกันสัตว์เลี้ยง จริงๆ แล้วอยากจะบอกว่า เจ้าของสัตว์เลี้ยงทั้งหลาย อยากให้ทำประกันให้น้องๆ ไว้ครับ ขนาดคนยังต้องมีประกัน แล้วทำไมหมาแมวที่บ้านเราจะไม่มีล่ะครับ ค่ารักษา ค่าหยูกยาไม่ได้ถูกไปกว่าคนเลยครับ การมีประกันจะช่วยแบ่งเบาภาระให้ทาสหมาทาสแมวทั้งหลายไม่มากก็น้อยล่ะครับ
ถ้าคุณมีหมาหรือแมวที่อายุตั้งแต่ 3 เดือน - 9 ปี สามารถเช็คราคาและลองเลือกดูแผนประกันแบบฟรีๆ ได้เลยผ่านช่องทางออนไลน์ที่
https://bit.ly/3vqatv0 ด้วยความห่วงใยใส่ใจน้องหมาน้องแมวของทุกคนจากทิพยประกันภัยครับ
ปล. ผมแนบภาพสรุปรายละเอียดแผนประกันมาให้สำหรับคนที่สนใจคร้าบบ
[Advertorial]
[BR] ไขข้อสงสัย EP.2 ทำประกันหมา ทำประกันแมว เบิกอะไรได้บ้างเนี่ย?
ผมเลยขอเสนอตัวมารวบรวมปัญหาและข้อสงสัยให้ และจะตอบทั้งหมดในกระทู้นี้เลยคร้าบบ
1. ก่อนจะซื้อประกันสัตว์เลี้ยงอาจจะมีข้อสงสัยว่า จะต้องตรวจสุขภาพก่อนหรือเปล่า? อันที่จริงแล้วในขั้นตอนการซื้อจะมีให้กรอกพวกอายุของน้องๆ และยังมีสอบถามในเรื่องของวัคซีนเพื่อนำเสนอแผนประกันให้ ดังนั้นจะดีกว่าถ้าน้องหมาน้องแมวผ่านการตรวจสุขภาพและฉีดวัคซีนมาแล้วเรียบร้อย
2. ว่ากันต่อด้วยเรื่องของวัคซีน หลังจากทำประกันแล้วถ้าจะพาน้องๆไปฉีดวัคซีนป้องกันโรคเพิ่มเติม ก็สามารถเบิกได้ แต่!! ต้องเป็นวัคซีนเพื่อป้องกันโรคเท่านั้นนะ พวกวัคซีนที่ผลต่อความสวยงามหรือนอกเหนือจากป้องกันโรคล่ะก็ จะไม่สามารถเบิกได้ครับ อ้อ ส่วนถ้าฉีดแล้วมาทำประกัน จะไม่สามารถเบิกได้นะครับ เพราะกรมธรรม์จะไม่มีผลคุ้มครองย้อนหลังครับผม
3. ต่อมาเป็นเรื่องของการทำหมัน … สำหรับน้องหมาน้องแมววัยรุ่นที่ผ่านช่วงฮีทแล้วคุณเจ้าของพาไปทำหมันเรียบร้อย สามารถซื้อประกันสัตว์เลี้ยงกับทิพยประกันภัยได้สบายหายห่วงเลยครับ
4. ตามมาด้วยเรื่องของการบาดเจ็บ/เจ็บป่วย จริงๆ แล้วประกันสัตว์เลี้ยงก็คล้ายๆพวกประกันสุขภาพของคน ที่ก่อนทำประกันจะต้องสุขภาพแข็งแรง ไม่บาดเจ็บ ไม่เจ็บป่วย ไม่ผ่านการผ่าตัดจากการเจ็บป่วย หรือพิการมาก่อนทำประกันนะครับ อย่างถ้าน้องเคยขาหักมาก่อนแบบนี้ก็จะทำได้เพียงบางแผนประกันเท่านั้นนะครับ
ส่วนหลังจากทำประกันแล้วจะเจ็บจะป่วยประกันก็คุ้มครองครับ แต่! ขออีกแต่ครับ การเจ็บป่วยจะมีระยะเวลารอคอย 60 นะครับ หลังจาก 60 วันแล้วจะทำเรื่องเบิกเคลมได้ ยกเว้นถ้าทำประกันปุ๊บ น้องตกบันไดปั๊บ หรือเกิดอุบัติเหตุขึ้นกับน้อง ก็สามารถทำเรื่องเบิกค่ารักษาได้ครับ เพราะอุบัติเหตุจะคุ้มครองวันถัดไปหลังจากทำประกันแล้ว
5. อีกหนึ่งข้อยอดฮิต ที่หลายคนค้างคาใจและมีคำถามเข้ามามากกกที่สุด นั่นก็คือเรื่องของเจ้าของนี่แหละครับ หลายคนสงสัยว่า ถ้าน้องหมากัดเจ้าของ หรือน้องหมาทำลายทรัพย์สินภายในบ้าน แบบนี้คุ้มครองไหม? ตอบตรงนี้ชัดๆ เลยนะครับว่า ไม่ได้คุ้มครองครับ เพราะประกันจะคุ้มครองเมื่อน้องๆ ไปทำลายทรัพย์สินหรือร่างกายของบุคคลภายนอกเท่านั้น
6. ข้อสุดท้ายที่คนถามเข้ามาไม่น้อยไปกว่าข้อที่แล้วเลยครับ กับเรื่องบุคคลภายนอก ประกันจะคุ้มครองทั้งร่างกาย ทั้งทรัพย์สินของคนอื่นทั้งหมดเลยครับ ถ้าน้องหมา น้องแมวเราหลุดไปตะกรุยเฟอร์นิเจอร์บ้านอื่น กัดข้าวของ หรือข่วนชาวบ้านชาวช่อง ตรงนี้จะสามารถเบิกได้ตามปกติเลยครับ
แต่แน่นอนว่า หลายคนคงเคยเอะใจว่า อ้าว แล้วถ้าคนอื่นในครอบครัว ถือเป็นบุคคลภายนอกหรือเปล่า? ไม่ใช่นะครับ คนในครอบครัว คนในบ้าน จะไม่ถูกนับรวมเป็นบุคคลภายนอกนะครับผม เพราะฉะนั้นถ้าน้องหมาน้องแมวไปกัดไปข่วนพี่สาว น้องชายในบ้าน ก็จะไม่ได้รับความคุ้มครองในส่วนนี้คร้าบบบ
เป็นยังไงกันบ้างกับข้อสงสัยต่างๆเกี่ยวกับประกันสัตว์เลี้ยง จริงๆ แล้วอยากจะบอกว่า เจ้าของสัตว์เลี้ยงทั้งหลาย อยากให้ทำประกันให้น้องๆ ไว้ครับ ขนาดคนยังต้องมีประกัน แล้วทำไมหมาแมวที่บ้านเราจะไม่มีล่ะครับ ค่ารักษา ค่าหยูกยาไม่ได้ถูกไปกว่าคนเลยครับ การมีประกันจะช่วยแบ่งเบาภาระให้ทาสหมาทาสแมวทั้งหลายไม่มากก็น้อยล่ะครับ
ถ้าคุณมีหมาหรือแมวที่อายุตั้งแต่ 3 เดือน - 9 ปี สามารถเช็คราคาและลองเลือกดูแผนประกันแบบฟรีๆ ได้เลยผ่านช่องทางออนไลน์ที่ https://bit.ly/3vqatv0 ด้วยความห่วงใยใส่ใจน้องหมาน้องแมวของทุกคนจากทิพยประกันภัยครับ
ปล. ผมแนบภาพสรุปรายละเอียดแผนประกันมาให้สำหรับคนที่สนใจคร้าบบ
[Advertorial]
BR - Business Review : กระทู้นี้เป็นกระทู้รีวิวจากผู้สนับสนุน