ดูกรภิกษุทั้งหลาย
ก็มุทิตาเจโตวิมุติ อันบุคคลเจริญแล้วอย่างไร มีอะไรเป็นคติ มีอะไรเป็นอย่างยิ่ง มีอะไรเป็นผล มีอะไรเป็นที่สุด
ดูกรภิกษุทั้งหลาย
ภิกษุในธรรมวินัยนี้ ย่อมเจริญสติสัมโพชฌงค์ ฯลฯ ย่อมเจริญอุเบกขาสัมโพชฌงค์ อันสหรคตด้วยมุทิตา อาศัยวิเวก อาศัยวิราคะ อาศัยนิโรธ น้อมไปในการสละ ถ้าเธอหวังอยู่ว่า เราพึงมีความสำคัญว่าปฏิกูลในสิ่งไม่ปฏิกูลอยู่ เธอก็ย่อมมีความสำคัญว่าปฏิกูลในสิ่งไม่ปฏิกูลนั้นอยู่ ฯลฯ
ถ้าหวังอยู่ว่า เราพึงแยกสิ่งไม่ปฏิกูลและปฏิกูลทั้งสองนั้นออกเสียแล้ว วางเฉย มีสติสัมปชัญญะอยู่ก็ย่อมวางเฉยมีสติสัมปชัญญะในสิ่งทั้งสองนั้นอยู่ หรืออีกอย่างหนึ่ง เพราะล่วงอากาสานัญจายตนะเสียโดยประการทั้งปวง เธอคำนึงอยู่ว่า วิญญาณไม่มีที่สุด ย่อมบรรลุวิญญาณัญจายตนะอยู่
ดูกรภิกษุทั้งหลาย
เรากล่าวมุทิตาเจโตวิมุติว่า มีวิญญาณัญจายตนะเป็นอย่างยิ่ง เพราะภิกษุนั้นยังไม่แทงตลอดวิมุติอันยวดยิ่ง ในธรรมวินัยนี้ ปัญญาของเธอจึงยังเป็นโลกีย์.
ที่มา.
https://84000.org/tipitaka/attha/v.php?B=19&A=3328&Z=3470
[๕๙๙] กถํ ภาวิตา จ ภิกฺขเว มุทิตาเจโตวิมุตฺติ กึคติกา
โหติ กิมฺปรมา กิมฺผลา กิมฺปริโยสานา ฯ อิธ ภิกฺขเว ภิกฺขุ
มุทิตาสหคตํ สติสมฺโพชฺฌงฺคํ ภาเวติ ฯเปฯ มุทิตาสหคตํ
อุเปกฺขาสมฺโพชฺฌงฺคํ ภาเวติ วิเวกนิสฺสิตํ วิราคนิสฺสิตํ นิโรธนิสฺสิตํ
โวสฺสคฺคปริณามึ ฯ โส สเจ อากงฺขติ อปฺปฏิกูเล ปฏิกูลสญฺญี
วิหเรยฺยนฺติ ปฏิกูลสญฺญี ตตฺถ วิหรติ ฯเปฯ สเจ อากงฺขติ
อปฺปฏิกูลญฺจ ปฏิกูลญฺจ ตทุภยํ อภินิวชฺเชตฺวา อุเปกฺขโก
วิหเรยฺยํ สโต สมฺปชาโนติ อุเปกฺขโก ตตฺถ วิหรติ สโต สมฺปชาโน
สพฺพโส วา ปน อากาสานญฺจายตนํ สมติกฺกมฺม อนนฺตํ
วิญฺญาณนฺติ วิญฺญาณญฺจายตนํ อุปสมฺปชฺช วิหรติ ฯ
วิญฺญาณญฺจายตนปรมาหํ ภิกฺขเว มุทิตาเจโตวิมุตฺตึ
วทามิ ฯ อิธ ปญฺญสฺส ภิกฺขุโน อุตฺตริวิมุตฺตึ อปฺปฏิวิชฺฌโต ฯ
ที่มา.
https://84000.org/tipitaka/pali/pali_item_s.php?book=19&item=573&items=28
พระไตรปิฏกเถรวาทไทยสอน มุทิตาเจโตวิมุติอันบุคคลเจริญแล้ว มีอะไรเป็นคติ มีอะไรเป็นอย่างยิ่ง มีอะไรเป็นผล มีอะไรเป็นที่สุด
ดูกรภิกษุทั้งหลาย
ก็มุทิตาเจโตวิมุติ อันบุคคลเจริญแล้วอย่างไร มีอะไรเป็นคติ มีอะไรเป็นอย่างยิ่ง มีอะไรเป็นผล มีอะไรเป็นที่สุด
ดูกรภิกษุทั้งหลาย
ภิกษุในธรรมวินัยนี้ ย่อมเจริญสติสัมโพชฌงค์ ฯลฯ ย่อมเจริญอุเบกขาสัมโพชฌงค์ อันสหรคตด้วยมุทิตา อาศัยวิเวก อาศัยวิราคะ อาศัยนิโรธ น้อมไปในการสละ ถ้าเธอหวังอยู่ว่า เราพึงมีความสำคัญว่าปฏิกูลในสิ่งไม่ปฏิกูลอยู่ เธอก็ย่อมมีความสำคัญว่าปฏิกูลในสิ่งไม่ปฏิกูลนั้นอยู่ ฯลฯ
ถ้าหวังอยู่ว่า เราพึงแยกสิ่งไม่ปฏิกูลและปฏิกูลทั้งสองนั้นออกเสียแล้ว วางเฉย มีสติสัมปชัญญะอยู่ก็ย่อมวางเฉยมีสติสัมปชัญญะในสิ่งทั้งสองนั้นอยู่ หรืออีกอย่างหนึ่ง เพราะล่วงอากาสานัญจายตนะเสียโดยประการทั้งปวง เธอคำนึงอยู่ว่า วิญญาณไม่มีที่สุด ย่อมบรรลุวิญญาณัญจายตนะอยู่
ดูกรภิกษุทั้งหลาย
เรากล่าวมุทิตาเจโตวิมุติว่า มีวิญญาณัญจายตนะเป็นอย่างยิ่ง เพราะภิกษุนั้นยังไม่แทงตลอดวิมุติอันยวดยิ่ง ในธรรมวินัยนี้ ปัญญาของเธอจึงยังเป็นโลกีย์.
ที่มา. https://84000.org/tipitaka/attha/v.php?B=19&A=3328&Z=3470
[๕๙๙] กถํ ภาวิตา จ ภิกฺขเว มุทิตาเจโตวิมุตฺติ กึคติกา
โหติ กิมฺปรมา กิมฺผลา กิมฺปริโยสานา ฯ อิธ ภิกฺขเว ภิกฺขุ
มุทิตาสหคตํ สติสมฺโพชฺฌงฺคํ ภาเวติ ฯเปฯ มุทิตาสหคตํ
อุเปกฺขาสมฺโพชฺฌงฺคํ ภาเวติ วิเวกนิสฺสิตํ วิราคนิสฺสิตํ นิโรธนิสฺสิตํ
โวสฺสคฺคปริณามึ ฯ โส สเจ อากงฺขติ อปฺปฏิกูเล ปฏิกูลสญฺญี
วิหเรยฺยนฺติ ปฏิกูลสญฺญี ตตฺถ วิหรติ ฯเปฯ สเจ อากงฺขติ
อปฺปฏิกูลญฺจ ปฏิกูลญฺจ ตทุภยํ อภินิวชฺเชตฺวา อุเปกฺขโก
วิหเรยฺยํ สโต สมฺปชาโนติ อุเปกฺขโก ตตฺถ วิหรติ สโต สมฺปชาโน
สพฺพโส วา ปน อากาสานญฺจายตนํ สมติกฺกมฺม อนนฺตํ
วิญฺญาณนฺติ วิญฺญาณญฺจายตนํ อุปสมฺปชฺช วิหรติ ฯ
วิญฺญาณญฺจายตนปรมาหํ ภิกฺขเว มุทิตาเจโตวิมุตฺตึ
วทามิ ฯ อิธ ปญฺญสฺส ภิกฺขุโน อุตฺตริวิมุตฺตึ อปฺปฏิวิชฺฌโต ฯ
ที่มา. https://84000.org/tipitaka/pali/pali_item_s.php?book=19&item=573&items=28