สวัสดีและขอบคุณ ทุกท่านที่เข้ามาอ่านและเข้ามาตอบนะคะ
ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิช
ว่าด้วยเรื่องคนเสมือนไร้ความสามารถ
มาตรา34(3) กู้ยืมหรือให้กู้ยืมเงิน ยืมหรือให้ยืมสังหาริมทรัพย์อันมีค่า
1)คำว่าสังหาริมทัพย์อันมีค่า หมายถึงอะไรหรอคะ
2)นาฬิกาหรูมูลค่า 30ล้านบาท นับเป็นสังหาริมทัพย์อันมีค่าไหมคะ
*อันนี้ความคิดส่วนตัวนะคะ จากโจทย์คนเสมือนไร้ความสามารถให้
เพือนยืมนาฬิกาหรู30ล้านบาท โดยผู้พิทักษ์ไม่ได้รู้เห็นยินยอม*
=ถ้าเราใช้มาตรา34(5)เช่าหรือให้เช่าสังหาริมทรัพย์มีกำหนดระยะเวลา
เกินกว่าหกเดือนหรืออสังหาริมทรัพย์มีกำหนดระยะเวลาเกินกว่าสามปี
-มันจะมีช่องว่างของกฎหมายรึป่าวคะ
ณ เวลานั้นเขาเพียงขอยืมมาเฉยๆ ไม่มีการทำสัญญาเป็นลายลักษณ์อักษร
นอกจากขอยืมกันปากเปล่า (คิดตามแนวคิดคนปกติทั่วไป)
หากถึงวันคืนนาฬิกา เพื่อนสนิทคนดังกล่าวมีสิทธิเบี้ยวการคืนนาฬิกา
หากเราใช้มาตรา34(5) ขอบเขตการเช่าหรือให้เช่าคือ สังหาริมทรัพย์
คือ 6 เดือน เพื่อนสนิทคนดังกล่าวมีสิทธิ ยืมได้ยาวถึง 6 เดือน
เจ้าของนาฬิกาหรู เป็นคนเสมือนไร้ความสามารถ ซึ่งอาจคิดน้อย
หรือลืม นาฬิกาเรือนนั้นไป ก็ได้
=ถ้าเราใช้มาตรา34(3) นาฬิกามูลค่า30ล้านบาท ควรเข้าเกณฑ์สังหาริมทรัพย์อันมีค่า
เพราะมูลค่าของนาฬิกาหรู เรือนนี้มีค่ามาก ไม่ว่ากับใครก็ตาม
หากในขณะ นั้น มีการตกลงให้ยืมโดนผู้พิทักษ์ไม่รู้
หากว่าคนเสมือนไร้ความสามารถแอบหรือไม่บอกผู้พิทักษ์
เมื่อครบกำหนด เพื่อนสนิทต้องคืนนาฬิกา เขาผิดนัดคืน
เราสามารถบังคับใช้มาตรา34(3)ได้ทันที ให้นิติกรรมตกเป็นโมฆียะ
โดยไม่ต้องรอการอ้างใดๆจนนานถึง 6 เดือนกับนาฬิกามูลค่า30ล้าน
หนูเข้าใจอะไรผิดไปช่วยติและชี้แนะหน่อยนะคะ
คำจำกัดความของคำว่า สังหาริมทรัพย์อันมีค่า
ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิช
ว่าด้วยเรื่องคนเสมือนไร้ความสามารถ
มาตรา34(3) กู้ยืมหรือให้กู้ยืมเงิน ยืมหรือให้ยืมสังหาริมทรัพย์อันมีค่า
1)คำว่าสังหาริมทัพย์อันมีค่า หมายถึงอะไรหรอคะ
2)นาฬิกาหรูมูลค่า 30ล้านบาท นับเป็นสังหาริมทัพย์อันมีค่าไหมคะ
*อันนี้ความคิดส่วนตัวนะคะ จากโจทย์คนเสมือนไร้ความสามารถให้
เพือนยืมนาฬิกาหรู30ล้านบาท โดยผู้พิทักษ์ไม่ได้รู้เห็นยินยอม*
=ถ้าเราใช้มาตรา34(5)เช่าหรือให้เช่าสังหาริมทรัพย์มีกำหนดระยะเวลา
เกินกว่าหกเดือนหรืออสังหาริมทรัพย์มีกำหนดระยะเวลาเกินกว่าสามปี
-มันจะมีช่องว่างของกฎหมายรึป่าวคะ
ณ เวลานั้นเขาเพียงขอยืมมาเฉยๆ ไม่มีการทำสัญญาเป็นลายลักษณ์อักษร
นอกจากขอยืมกันปากเปล่า (คิดตามแนวคิดคนปกติทั่วไป)
หากถึงวันคืนนาฬิกา เพื่อนสนิทคนดังกล่าวมีสิทธิเบี้ยวการคืนนาฬิกา
หากเราใช้มาตรา34(5) ขอบเขตการเช่าหรือให้เช่าคือ สังหาริมทรัพย์
คือ 6 เดือน เพื่อนสนิทคนดังกล่าวมีสิทธิ ยืมได้ยาวถึง 6 เดือน
เจ้าของนาฬิกาหรู เป็นคนเสมือนไร้ความสามารถ ซึ่งอาจคิดน้อย
หรือลืม นาฬิกาเรือนนั้นไป ก็ได้
=ถ้าเราใช้มาตรา34(3) นาฬิกามูลค่า30ล้านบาท ควรเข้าเกณฑ์สังหาริมทรัพย์อันมีค่า
เพราะมูลค่าของนาฬิกาหรู เรือนนี้มีค่ามาก ไม่ว่ากับใครก็ตาม
หากในขณะ นั้น มีการตกลงให้ยืมโดนผู้พิทักษ์ไม่รู้
หากว่าคนเสมือนไร้ความสามารถแอบหรือไม่บอกผู้พิทักษ์
เมื่อครบกำหนด เพื่อนสนิทต้องคืนนาฬิกา เขาผิดนัดคืน
เราสามารถบังคับใช้มาตรา34(3)ได้ทันที ให้นิติกรรมตกเป็นโมฆียะ
โดยไม่ต้องรอการอ้างใดๆจนนานถึง 6 เดือนกับนาฬิกามูลค่า30ล้าน
หนูเข้าใจอะไรผิดไปช่วยติและชี้แนะหน่อยนะคะ