คำตอบที่ได้รับเลือกจากเจ้าของกระทู้
ความคิดเห็นที่ 9
[Spoil] คลิกเพื่อดูข้อความที่ซ่อนไว้
"อว. เผยฉีดวัคซีนของไทย ณ วันที่ 8 พฤศจิกายน 2564 ฉีดวัคซีนแล้ว 80,499,612 โดส และทั่วโลกแล้ว 7,264 ล้านโดส ใน 205 ประเทศ/เขตปกครอง ส่วนอาเซียนฉีดแล้วทุกประเทศ รวมกันกว่า 557.59 ล้านโดส โดยกรุงเทพฯ ยังเป็นพื้นที่ฉีดวัคซีนเข็ม 1 มากสุด (110.5%)
(8 พฤศจิกายน2564) กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (อว.) เผยข้อมูลสถิติการฉีดวัคซีนโควิด-19 ทั่วโลกแล้ว 7,264 ล้านโดส ใน 205 ประเทศ/เขตปกครอง โดยขณะนี้อัตราการฉีดล่าสุดรวมกันทั่วโลกที่ 31.7 ล้านโดสต่อวัน และมีแนวโน้มที่เพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง ในขณะที่สหรัฐอเมริกามีจำนวนการฉีดวัคซีนสูงที่สุดที่ 431 ล้านโดส โดยมีชาวอเมริกันกว่า 194 ล้านคนได้รับวัคซีนครบ 2 โดสแล้ว"
ด้านอาเซียนขณะนี้ทุกประเทศได้ฉีดวัคซีนป้องกันโรคโควิด-19 แล้ว มียอดรวมกันที่ประมาณ 557.59 ล้านโดส โดยสิงคโปร์ฉีดวัคซีนในสัดส่วนประชากรมากที่สุดในภูมิภาค (86% ของประชากร) ในขณะที่อินโดนีเซียฉีดวัคซีนในจำนวนมากที่สุดที่ 204.6 ล้านโดส สำหรับประเทศไทยข้อมูล ณ วันที่ 8 พฤศจิกายน 2564 ได้ฉีดวัคซีนแล้วกว่า 80,499,612 โดส โดยฉีดให้กับประชาชนมากที่สุดในสัดส่วนกว่า 60.8%
ในการฉีดวัคซีน จำนวน 7,264 ล้านโดสนี้ อว. ขอรายงานสถิติที่สำคัญ คือ
1) ข้อมูลการฉีดวัคซีนล่าสุดของประเทศไทย ณ วันที่ 8 พฤศจิกายน 2564
จำนวนการฉีดวัคซีนสะสม 80,499,612 คน ใน 77 จังหวัด แบ่งเป็น
-เข็มแรก 43,990,610 โดส (66.5% ของประชากร)
-เข็มสอง 33,912,537 โดส (51.2% ของประชากร)
-เข็มสาม 2,596,465 โดส (3.9% ของประชากร)
2) อัตราการฉีดวัคซีนตั้งแต่ 28 ก.พ.- 8 พ.ย. 64 พบว่า ประเทศไทยฉีดวัคซีนแล้ว 80,499,612 โดส ฉีดเพิ่มขึ้น 278,059 โดส (อัตราการฉีดล่าสุดเฉลี่ย 3 วันย้อนหลัง ตั้งแต่วันที่ 7 มิ.ย. 64 ซึ่งเป็นการฉีดวัคซีนวาระแห่งชาติ 684,191 โดส/วัน
3) อัตราการฉีดวัคซีน ประกอบด้วย
วัคซีน Sinovac
- เข็มที่ 1 21,577,043 โดส
- เข็มที่ 2 3,534,603 โดส
- เข็มที่ 3 0 โดส
วัคซีน AstraZeneca
- เข็มที่ 1 10,928,787 โดส
- เข็มที่ 2 22,286,794 โดส
- เข็มที่ 3 2,034,630 โดส
วัคซีน Sinopharm
- เข็มที่ 1 6,923,299 โดส
- เข็มที่ 2 6,017,682 โดส
- เข็มที่ 3 0 โดส
วัคซีน Pfizer
- เข็มที่ 1 4,561,481 โดส
- เข็มที่ 2 2,073,458 โดส
- เข็มที่ 3 559,835 โดส
4) การฉีดวัคซีนโควิด-19 แยกตามกลุ่มเป้าหมาย
- บุคลากรการแพทย์/สาธารณสุข เข็มที่1 123.9% เข็มที่2 120.2% เข็มที่3 93%
- เจ้าหน้าที่ด่านหน้า เข็มที่1 63.7% เข็มที่2 59.8% เข็มที่3 16.3%
- อสม เข็มที่1 76.7% เข็มที่2 71.3% เข็มที่3 13.5%
- ผู้ที่มีโรคเรื้อรัง 7 กลุ่มโรค เข็มที่1 70.2% เข็มที่1 59.4% เข็มที่3 2.9%
- ประชาชนทั่วไป เข็มที่1 57.9% เข็มที่2 43.3% เข็มที่3 2.7%
- ผู้ที่มีอายุตั้งแต่ 60 ปีขึ้นไป เข็มที่1 65.7% เข็มที่2 56.6% เข็มที่3 0.7%
- หญิงตั้งครรภ์ เข็มที่1 16.9% เข็มที่2 12.7% เข็มที่3 0.2%
- นักเรียน/นักศึกษา อายุ 12-17 ปี เข็มที่1 59.7% เข็มที่2 26.8% เข็มที่3 0%
รวม เข็มที่1 61.1% เข็มที่2 47.1% เข็มที่3 3.6%
5) %การฉีดวัคซีนพื้นที่นำร่องท่องเที่ยว
1. กรุงเทพมหานคร เข็มที่1 110.5% เข็มที่2 87.5% และประชากร 60 ปีขึ้นไป เข็มที่1 81.4% เข็มที่2 66.7%
2. ภูเก็ต เข็มที่1 85.2% เข็มที่2 79.6% และประชากร 60 ปีขึ้นไป เข็มที่1 72.9% เข็มที่2 69.7%
3. ชลบุรี เข็มที่1 84.4% เข็มที่2 71.8% และประชากร 60 ปีขึ้นไป เข็มที่1 74.7% เข็มที่2 69.5%
4. สมุทรปราการ เข็มที่1 76.4% เข็มที่2 60.8% และประชากร 60 ปีขึ้นไป เข็มที่1 92.7% เข็มที่2 80.7%
5. เชียงใหม่ เข็มที่1 70.4% เข็มที่2 48.4% และประชากร 60 ปีขึ้นไป เข็มที่1 73% เข็มที่2 69.1%
6. ระนอง เข็มที่1 68.6% เข็มที่2 54.9% และประชากร 60 ปีขึ้นไป เข็มที่1 76.4% เข็มที่2 60.7%
7. พังงา เข็มที่1 68.1% เข็มที่2 59.9% และประชากร 60 ปีขึ้นไป เข็มที่1 74.5% เข็มที่2 70.2%
8. กระบี่ เข็มที่1 66.3% เข็มที่2 47% และประชากร 60 ปีขึ้นไป เข็มที่1 74.9% เข็มที่2 64.7%
9. ระยอง เข็มที่1 64.9% เข็มที่2 50.6% และประชากร 60 ปีขึ้นไป เข็มที่1 64.4% เข็มที่2 57.4%
10. สุราษฎร์ธานี เข็มที่1 1 63.3% เข็มที่2 41.9% และประชากร 60 ปีขึ้นไป เข็มที่1 75.1% เข็มที่2 63.6%
11. ประจวบคีรีขันธ์ เข็มที่1 62.2% เข็มที่2 49.3% และประชากร 60 ปีขึ้นไป เข็มที่1 68.2% เข็มที่2 61.6%
12. เพชรบุรี เข็มที่1 61.6% เข็มที่2 52% และประชากร 60 ปีขึ้นไป เข็มที่1 63.7% เข็มที่2 58.7%
13. ตราด เข็มที่1 60.9% เข็มที่2 46.6% และประชากร 60 ปีขึ้นไป เข็มที่1 64.9% เข็มที่2 58.4%
14. บุรีรัมย์ เข็มที่1 57.4% เข็มที่2 44.6%และประชากร 60 ปีขึ้นไป เข็มที่1 77.6% เข็มที่2 56.6%
15. เลย เข็มที่1 51.7% เข็มที่2 37.1% และประชากร 60 ปีขึ้นไป เข็มที่1 67.4% เข็มที่2 52.5%
16. อุดรธานี เข็มที่1 51.6% เข็มที่2 38.4% และประชากร 60 ปีขึ้นไป เข็มที่1 77.7% เข็มที่2 65.7%
17. หนองคาย เข็มที่1 48.7% เข็มที่2 39.1% และประชากร 60 ปีขึ้นไป เข็มที่1 66.4% เข็มที่2 57.5%
รวม เข็มที่1 81.7% เข็มที่2 64.1% และประชากร 60 ปีขึ้นไป เข็มที่1 77.8% เข็มที่2 65.1%
6) ในภูมิภาคอาเซียน ได้ฉีดวัคซีนแล้วครบ 10 ประเทศ รวมจำนวน 557,593,943 โดส ได้แก่
1. อินโดนีเซีย จำนวน 204,606,962 โดส (45.4%* ของประชากร) ฉีดวัคซีนของ Sinovac, AstraZeneca, Moderna และ Sinopharm
2. เวียดนาม จำนวน 89,620,701 โดส (62.4%* ของประชากร) ฉีดวัคซีนของ AstraZeneca, Pfizer, Moderna และ Sinopharm
3. ไทย จำนวน 80,499,612 โดส (66.5%* ของประชากร) ฉีดวัคซีนของ Pfizer, Sinovac, AstraZeneca และ Sinopharm
4. ฟิลิปปินส์ จำนวน 64,195,936 โดส (31.3%* ของประชากร) ฉีดวัคซีนของ Sinovac, Pfizer, Sputnik V, Moderna, J&J และ AstraZeneca
5. มาเลเซีย จำนวน 50,402,399 (78%* ของประชากร) ฉีดวัคซีนของ Pfizer, AstraZeneca และ Sinovac
6. กัมพูชา จำนวน 29,094,703 โดส (82.6%* ของประชากร) ฉีดวัคซีนของ Sinopharm, AstraZeneca, J&J และ Sinovac
7. พม่า จำนวน 22,152,983 โดส (25.4%* ของประชากร) ฉีดวัคซีนของ AstraZeneca และ Sinopharm
8. สิงคโปร์ จำนวน 10,094,499 โดส (86%* ของประชากร) ฉีดวัคซีนของ Pfizer, Moderna และ Sinovac
9. ลาว จำนวน 6,282,917 โดส (46.1%* ของประชากร) ฉีดวัคซีนของ Sinopharm, Sputnik V, Pfizer, J&J, Sinovac และ AstraZeneca
10. บรูไน จำนวน 643,231 โดส (80.7%* ของประชากร) ฉีดวัคซีนของ AstraZeneca และ Sinopharm
* คำนวณจากจำนวนฉีด/จำนวนประชากร อย่างน้อย 1 เข็ม
7) จำนวนการฉีดวัคซีนแยกตามภูมิภาค
1. เอเชียและตะวันออกกลาง 69.03%
2. ยุโรป 10.61%
3. อเมริกาเหนือ 9.58%
4. ลาตินอเมริกาและแคริบเบียน 7.36%
5. แอฟริกา 2.79%
6. โอเชียเนีย 0.63%
8) ประเทศที่ฉีดวัคซีนแล้วมากที่สุด 5 ประเทศลำดับแรกที่ฉีดวัคซีนมากกว่า 100 ล้านโดส รวมกันเกือบ 70% ของปริมาณการฉีดวัคซีนทั่วโลก
1. จีน จำนวน 2,322.10 ล้านโดส (165.9% ของจำนวนโดสที่ฉีดต่อประชากร)
2. อินเดีย จำนวน 1,085.11 ล้านโดส (79.3%)
3. สหรัฐอเมริกา จำนวน 430.93 ล้านโดส (129.8%)
4. บราซิล จำนวน 281.48 ล้านโดส (133.9%)
5. อินโดนีเซีย จำนวน 204.61 ล้านโดส (74.2%)
9) ประเทศที่ฉีดวัคซีนครอบคลุมประชากรมากที่สุด มี 10 ประเทศที่ฉีดวัคซีนให้กับประชากรอย่างน้อย 25% แล้ว ได้แก่ (เฉพาะประเทศที่มีประชากรมากกว่า 500,000 คน)
1. คิวบา (230%) (ฉีดวัคซีนของ Abdala และ Soberana02)
2. มัลดีฟส์ (202.5% ของประชากร) (ฉีดวัคซีนของ AstraZeneca/Oxford, Pfizer/BioNTech และ Sinopharm)
3. สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ (198.6%) (ฉีดวัคซีนของ AstraZeneca/Oxford, Pfizer/BioNTech, Sinopharm และ Gamaleya)
4. ชิลี (197.2%) (ฉีดวัคซีนของ AstraZeneca/Oxford, CanSino, Pfizer/BioNTech และ Sinovac
5. อุรุกวัย (189.1%) (ฉีดวัคซีนของ AstraZeneca/Oxford, Pfizer/BioNTech และ Sinovac)
6. บาห์เรน (188.7%) (ฉีดวัคซีนของ AstraZeneca/Oxford, Pfizer/BioNTech, Sinopharm และ Gamaley)
7. อิสราเอล (176.6%) (ฉีดวัคซีนของ Pfizer/BioNTech และ Moderna)
8. กาตาร์ (173.8%) (ฉีดวัคซีนของ Pfizer/BioNTech และ Moderna)
9. กัมพูชา (172.1%) (ฉีดวัคซีนของ Sinopharm, Sinovac, AstraZeneca/Oxford และ J&J)
10. สิงคโปร์ (171.4%) (ฉีดวัคซีนของ Pfizer/BioNTech, Moderna และ Sinovac)
แหล่งข้อมูล Bloomberg Vaccine Tracker, กระทรวงสาธารณสุข
ประมวลข้อมูลโดย กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (อว.)
https://www.facebook.com/nrctofficial/posts/4326959917429547
จำนวนการได้รับวัคซีนสะสม (28 ก.พ. - 8 พ.ย. 2564)
รวม 80,968,807 โดส ใน 77 จังหวัด
ภาพรวมยอดฉีดวัคซีน วันที่ 8 พฤศจิกายน 2564
ยอดฉีดทั่วประเทศ 469,195 โดส
เข็มที่ 1 : 125,899 ราย
เข็มที่ 2 : 327,818 ราย
เข็มที่ 3 : 15,478 ราย
จำนวนผู้ได้รับวัคซีน เข็มที่ 1 สะสม : 44,116,509 ราย
จำนวนผู้ได้รับวัคซีน เข็มที่ 2 สะสม : 34,240,355 ราย
จำนวนผู้ได้รับวัคซีน เข็มที่ 3 สะสม : 2,611,943 ราย
แหล่งข้อมูล : MOPH-IC
https://www.facebook.com/informationcovid19/posts/443189833966013
4 จังหวัด พื้นที่สีฟ้า นำร่องท่องเที่ยว ได้แก่ กรุงเทพฯ กระบี่ พังงา ภูเก็ต สามารถดื่มแอลกอฮอล์ในร้านได้ นักดื่มต้องระมัดระวัง อย่าประมาทและปฏิบัติตามมาตรการ DMH อย่างเคร่งครัด เพื่อลดความเสี่ยงของโรคโควิด
ที่มา : กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข
https://www.facebook.com/informationcovid19/posts/443186893966307
[Spoil] คลิกเพื่อดูข้อความที่ซ่อนไว้
"อว. เผยฉีดวัคซีนของไทย ณ วันที่ 8 พฤศจิกายน 2564 ฉีดวัคซีนแล้ว 80,499,612 โดส และทั่วโลกแล้ว 7,264 ล้านโดส ใน 205 ประเทศ/เขตปกครอง ส่วนอาเซียนฉีดแล้วทุกประเทศ รวมกันกว่า 557.59 ล้านโดส โดยกรุงเทพฯ ยังเป็นพื้นที่ฉีดวัคซีนเข็ม 1 มากสุด (110.5%)
(8 พฤศจิกายน2564) กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (อว.) เผยข้อมูลสถิติการฉีดวัคซีนโควิด-19 ทั่วโลกแล้ว 7,264 ล้านโดส ใน 205 ประเทศ/เขตปกครอง โดยขณะนี้อัตราการฉีดล่าสุดรวมกันทั่วโลกที่ 31.7 ล้านโดสต่อวัน และมีแนวโน้มที่เพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง ในขณะที่สหรัฐอเมริกามีจำนวนการฉีดวัคซีนสูงที่สุดที่ 431 ล้านโดส โดยมีชาวอเมริกันกว่า 194 ล้านคนได้รับวัคซีนครบ 2 โดสแล้ว"
ด้านอาเซียนขณะนี้ทุกประเทศได้ฉีดวัคซีนป้องกันโรคโควิด-19 แล้ว มียอดรวมกันที่ประมาณ 557.59 ล้านโดส โดยสิงคโปร์ฉีดวัคซีนในสัดส่วนประชากรมากที่สุดในภูมิภาค (86% ของประชากร) ในขณะที่อินโดนีเซียฉีดวัคซีนในจำนวนมากที่สุดที่ 204.6 ล้านโดส สำหรับประเทศไทยข้อมูล ณ วันที่ 8 พฤศจิกายน 2564 ได้ฉีดวัคซีนแล้วกว่า 80,499,612 โดส โดยฉีดให้กับประชาชนมากที่สุดในสัดส่วนกว่า 60.8%
ในการฉีดวัคซีน จำนวน 7,264 ล้านโดสนี้ อว. ขอรายงานสถิติที่สำคัญ คือ
1) ข้อมูลการฉีดวัคซีนล่าสุดของประเทศไทย ณ วันที่ 8 พฤศจิกายน 2564
จำนวนการฉีดวัคซีนสะสม 80,499,612 คน ใน 77 จังหวัด แบ่งเป็น
-เข็มแรก 43,990,610 โดส (66.5% ของประชากร)
-เข็มสอง 33,912,537 โดส (51.2% ของประชากร)
-เข็มสาม 2,596,465 โดส (3.9% ของประชากร)
2) อัตราการฉีดวัคซีนตั้งแต่ 28 ก.พ.- 8 พ.ย. 64 พบว่า ประเทศไทยฉีดวัคซีนแล้ว 80,499,612 โดส ฉีดเพิ่มขึ้น 278,059 โดส (อัตราการฉีดล่าสุดเฉลี่ย 3 วันย้อนหลัง ตั้งแต่วันที่ 7 มิ.ย. 64 ซึ่งเป็นการฉีดวัคซีนวาระแห่งชาติ 684,191 โดส/วัน
3) อัตราการฉีดวัคซีน ประกอบด้วย
วัคซีน Sinovac
- เข็มที่ 1 21,577,043 โดส
- เข็มที่ 2 3,534,603 โดส
- เข็มที่ 3 0 โดส
วัคซีน AstraZeneca
- เข็มที่ 1 10,928,787 โดส
- เข็มที่ 2 22,286,794 โดส
- เข็มที่ 3 2,034,630 โดส
วัคซีน Sinopharm
- เข็มที่ 1 6,923,299 โดส
- เข็มที่ 2 6,017,682 โดส
- เข็มที่ 3 0 โดส
วัคซีน Pfizer
- เข็มที่ 1 4,561,481 โดส
- เข็มที่ 2 2,073,458 โดส
- เข็มที่ 3 559,835 โดส
4) การฉีดวัคซีนโควิด-19 แยกตามกลุ่มเป้าหมาย
- บุคลากรการแพทย์/สาธารณสุข เข็มที่1 123.9% เข็มที่2 120.2% เข็มที่3 93%
- เจ้าหน้าที่ด่านหน้า เข็มที่1 63.7% เข็มที่2 59.8% เข็มที่3 16.3%
- อสม เข็มที่1 76.7% เข็มที่2 71.3% เข็มที่3 13.5%
- ผู้ที่มีโรคเรื้อรัง 7 กลุ่มโรค เข็มที่1 70.2% เข็มที่1 59.4% เข็มที่3 2.9%
- ประชาชนทั่วไป เข็มที่1 57.9% เข็มที่2 43.3% เข็มที่3 2.7%
- ผู้ที่มีอายุตั้งแต่ 60 ปีขึ้นไป เข็มที่1 65.7% เข็มที่2 56.6% เข็มที่3 0.7%
- หญิงตั้งครรภ์ เข็มที่1 16.9% เข็มที่2 12.7% เข็มที่3 0.2%
- นักเรียน/นักศึกษา อายุ 12-17 ปี เข็มที่1 59.7% เข็มที่2 26.8% เข็มที่3 0%
รวม เข็มที่1 61.1% เข็มที่2 47.1% เข็มที่3 3.6%
5) %การฉีดวัคซีนพื้นที่นำร่องท่องเที่ยว
1. กรุงเทพมหานคร เข็มที่1 110.5% เข็มที่2 87.5% และประชากร 60 ปีขึ้นไป เข็มที่1 81.4% เข็มที่2 66.7%
2. ภูเก็ต เข็มที่1 85.2% เข็มที่2 79.6% และประชากร 60 ปีขึ้นไป เข็มที่1 72.9% เข็มที่2 69.7%
3. ชลบุรี เข็มที่1 84.4% เข็มที่2 71.8% และประชากร 60 ปีขึ้นไป เข็มที่1 74.7% เข็มที่2 69.5%
4. สมุทรปราการ เข็มที่1 76.4% เข็มที่2 60.8% และประชากร 60 ปีขึ้นไป เข็มที่1 92.7% เข็มที่2 80.7%
5. เชียงใหม่ เข็มที่1 70.4% เข็มที่2 48.4% และประชากร 60 ปีขึ้นไป เข็มที่1 73% เข็มที่2 69.1%
6. ระนอง เข็มที่1 68.6% เข็มที่2 54.9% และประชากร 60 ปีขึ้นไป เข็มที่1 76.4% เข็มที่2 60.7%
7. พังงา เข็มที่1 68.1% เข็มที่2 59.9% และประชากร 60 ปีขึ้นไป เข็มที่1 74.5% เข็มที่2 70.2%
8. กระบี่ เข็มที่1 66.3% เข็มที่2 47% และประชากร 60 ปีขึ้นไป เข็มที่1 74.9% เข็มที่2 64.7%
9. ระยอง เข็มที่1 64.9% เข็มที่2 50.6% และประชากร 60 ปีขึ้นไป เข็มที่1 64.4% เข็มที่2 57.4%
10. สุราษฎร์ธานี เข็มที่1 1 63.3% เข็มที่2 41.9% และประชากร 60 ปีขึ้นไป เข็มที่1 75.1% เข็มที่2 63.6%
11. ประจวบคีรีขันธ์ เข็มที่1 62.2% เข็มที่2 49.3% และประชากร 60 ปีขึ้นไป เข็มที่1 68.2% เข็มที่2 61.6%
12. เพชรบุรี เข็มที่1 61.6% เข็มที่2 52% และประชากร 60 ปีขึ้นไป เข็มที่1 63.7% เข็มที่2 58.7%
13. ตราด เข็มที่1 60.9% เข็มที่2 46.6% และประชากร 60 ปีขึ้นไป เข็มที่1 64.9% เข็มที่2 58.4%
14. บุรีรัมย์ เข็มที่1 57.4% เข็มที่2 44.6%และประชากร 60 ปีขึ้นไป เข็มที่1 77.6% เข็มที่2 56.6%
15. เลย เข็มที่1 51.7% เข็มที่2 37.1% และประชากร 60 ปีขึ้นไป เข็มที่1 67.4% เข็มที่2 52.5%
16. อุดรธานี เข็มที่1 51.6% เข็มที่2 38.4% และประชากร 60 ปีขึ้นไป เข็มที่1 77.7% เข็มที่2 65.7%
17. หนองคาย เข็มที่1 48.7% เข็มที่2 39.1% และประชากร 60 ปีขึ้นไป เข็มที่1 66.4% เข็มที่2 57.5%
รวม เข็มที่1 81.7% เข็มที่2 64.1% และประชากร 60 ปีขึ้นไป เข็มที่1 77.8% เข็มที่2 65.1%
6) ในภูมิภาคอาเซียน ได้ฉีดวัคซีนแล้วครบ 10 ประเทศ รวมจำนวน 557,593,943 โดส ได้แก่
1. อินโดนีเซีย จำนวน 204,606,962 โดส (45.4%* ของประชากร) ฉีดวัคซีนของ Sinovac, AstraZeneca, Moderna และ Sinopharm
2. เวียดนาม จำนวน 89,620,701 โดส (62.4%* ของประชากร) ฉีดวัคซีนของ AstraZeneca, Pfizer, Moderna และ Sinopharm
3. ไทย จำนวน 80,499,612 โดส (66.5%* ของประชากร) ฉีดวัคซีนของ Pfizer, Sinovac, AstraZeneca และ Sinopharm
4. ฟิลิปปินส์ จำนวน 64,195,936 โดส (31.3%* ของประชากร) ฉีดวัคซีนของ Sinovac, Pfizer, Sputnik V, Moderna, J&J และ AstraZeneca
5. มาเลเซีย จำนวน 50,402,399 (78%* ของประชากร) ฉีดวัคซีนของ Pfizer, AstraZeneca และ Sinovac
6. กัมพูชา จำนวน 29,094,703 โดส (82.6%* ของประชากร) ฉีดวัคซีนของ Sinopharm, AstraZeneca, J&J และ Sinovac
7. พม่า จำนวน 22,152,983 โดส (25.4%* ของประชากร) ฉีดวัคซีนของ AstraZeneca และ Sinopharm
8. สิงคโปร์ จำนวน 10,094,499 โดส (86%* ของประชากร) ฉีดวัคซีนของ Pfizer, Moderna และ Sinovac
9. ลาว จำนวน 6,282,917 โดส (46.1%* ของประชากร) ฉีดวัคซีนของ Sinopharm, Sputnik V, Pfizer, J&J, Sinovac และ AstraZeneca
10. บรูไน จำนวน 643,231 โดส (80.7%* ของประชากร) ฉีดวัคซีนของ AstraZeneca และ Sinopharm
* คำนวณจากจำนวนฉีด/จำนวนประชากร อย่างน้อย 1 เข็ม
7) จำนวนการฉีดวัคซีนแยกตามภูมิภาค
1. เอเชียและตะวันออกกลาง 69.03%
2. ยุโรป 10.61%
3. อเมริกาเหนือ 9.58%
4. ลาตินอเมริกาและแคริบเบียน 7.36%
5. แอฟริกา 2.79%
6. โอเชียเนีย 0.63%
8) ประเทศที่ฉีดวัคซีนแล้วมากที่สุด 5 ประเทศลำดับแรกที่ฉีดวัคซีนมากกว่า 100 ล้านโดส รวมกันเกือบ 70% ของปริมาณการฉีดวัคซีนทั่วโลก
1. จีน จำนวน 2,322.10 ล้านโดส (165.9% ของจำนวนโดสที่ฉีดต่อประชากร)
2. อินเดีย จำนวน 1,085.11 ล้านโดส (79.3%)
3. สหรัฐอเมริกา จำนวน 430.93 ล้านโดส (129.8%)
4. บราซิล จำนวน 281.48 ล้านโดส (133.9%)
5. อินโดนีเซีย จำนวน 204.61 ล้านโดส (74.2%)
9) ประเทศที่ฉีดวัคซีนครอบคลุมประชากรมากที่สุด มี 10 ประเทศที่ฉีดวัคซีนให้กับประชากรอย่างน้อย 25% แล้ว ได้แก่ (เฉพาะประเทศที่มีประชากรมากกว่า 500,000 คน)
1. คิวบา (230%) (ฉีดวัคซีนของ Abdala และ Soberana02)
2. มัลดีฟส์ (202.5% ของประชากร) (ฉีดวัคซีนของ AstraZeneca/Oxford, Pfizer/BioNTech และ Sinopharm)
3. สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ (198.6%) (ฉีดวัคซีนของ AstraZeneca/Oxford, Pfizer/BioNTech, Sinopharm และ Gamaleya)
4. ชิลี (197.2%) (ฉีดวัคซีนของ AstraZeneca/Oxford, CanSino, Pfizer/BioNTech และ Sinovac
5. อุรุกวัย (189.1%) (ฉีดวัคซีนของ AstraZeneca/Oxford, Pfizer/BioNTech และ Sinovac)
6. บาห์เรน (188.7%) (ฉีดวัคซีนของ AstraZeneca/Oxford, Pfizer/BioNTech, Sinopharm และ Gamaley)
7. อิสราเอล (176.6%) (ฉีดวัคซีนของ Pfizer/BioNTech และ Moderna)
8. กาตาร์ (173.8%) (ฉีดวัคซีนของ Pfizer/BioNTech และ Moderna)
9. กัมพูชา (172.1%) (ฉีดวัคซีนของ Sinopharm, Sinovac, AstraZeneca/Oxford และ J&J)
10. สิงคโปร์ (171.4%) (ฉีดวัคซีนของ Pfizer/BioNTech, Moderna และ Sinovac)
แหล่งข้อมูล Bloomberg Vaccine Tracker, กระทรวงสาธารณสุข
ประมวลข้อมูลโดย กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (อว.)
https://www.facebook.com/nrctofficial/posts/4326959917429547
จำนวนการได้รับวัคซีนสะสม (28 ก.พ. - 8 พ.ย. 2564)
รวม 80,968,807 โดส ใน 77 จังหวัด
ภาพรวมยอดฉีดวัคซีน วันที่ 8 พฤศจิกายน 2564
ยอดฉีดทั่วประเทศ 469,195 โดส
เข็มที่ 1 : 125,899 ราย
เข็มที่ 2 : 327,818 ราย
เข็มที่ 3 : 15,478 ราย
จำนวนผู้ได้รับวัคซีน เข็มที่ 1 สะสม : 44,116,509 ราย
จำนวนผู้ได้รับวัคซีน เข็มที่ 2 สะสม : 34,240,355 ราย
จำนวนผู้ได้รับวัคซีน เข็มที่ 3 สะสม : 2,611,943 ราย
แหล่งข้อมูล : MOPH-IC
https://www.facebook.com/informationcovid19/posts/443189833966013
4 จังหวัด พื้นที่สีฟ้า นำร่องท่องเที่ยว ได้แก่ กรุงเทพฯ กระบี่ พังงา ภูเก็ต สามารถดื่มแอลกอฮอล์ในร้านได้ นักดื่มต้องระมัดระวัง อย่าประมาทและปฏิบัติตามมาตรการ DMH อย่างเคร่งครัด เพื่อลดความเสี่ยงของโรคโควิด
ที่มา : กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข
https://www.facebook.com/informationcovid19/posts/443186893966307
แสดงความคิดเห็น
🇹🇭มาลาริน💓9พ.ย.ไม่ติดTop10 ป่วย6,904คน หายป่วย8,024คน เสียชีวิต61คน สะสม80,968,807โดส/สูงสุด10จว./ข่าวจริงฉีดกระตุ้น
https://www.sanook.com/news/8470454/
https://travel.trueid.net/detail/EpwDxDy0Jd17
https://www.bangkokbiznews.com/news/970687
คณะอนุกรรมการสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรคมีมติให้คำแนะนำการฉีดวัคซีนสำหรับผู้รับวัคซีนแอสตร้าเซนเนก้า 2 เข็ม สามารถกระตุ้นเข็ม 3 ได้ทั้งไฟเซอร์และโมเดอร์นา โดยระยะห่างจากเข็มสอง 6 เดือนขึ้นไป ซึ่งผู้ที่รับครบช่วงพฤษภาคม-มิถุนายน สามารถไปลงทะเบียนยังจุดฉีดใกล้บ้านได้ตามความสมัครใจ
วันนี้ (9 พ.ย.) ศูนย์ต่อต้านข่าวปลอม ประเทศไทย เปิดเผยว่า ตามที่มีการเผยแพร่ข้อมูล เกี่ยวกับประเด็นเรื่อง รับวัคซีนแอสตร้าฯ ครบ 2 เข็ม เว้นระยะห่าง 6 เดือน สามารถกระตุ้นด้วยไฟเซอร์หรือโมเดอร์นาได้ ทางศูนย์ต่อต้านข่าวปลอมได้ดำเนินการตรวจสอบข้อเท็จจริงโดย กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข พบว่าประเด็นดังกล่าวนั้น เป็นข้อมูลจริง
เมื่อวันที่ 5 พฤศจิกายน 2564 ที่ศูนย์แถลงข่าวสถานการณ์โรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 กระทรวงสาธารณสุข จ.นนทบุรี อธิบดีกรมควบคุมโรค ได้มีการพูดถึงประเด็นการฉีดวัคซีนโควิด 19 ซึ่งพบว่าปัจจุบันฉีดสะสม 78,656,124 โดส เข็มที่หนึ่งครอบคลุมแล้วกว่า 60% ของประชากร และล่าสุดคณะอนุกรรมการสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค มีการประชุมเมื่อวันที่ 4 พฤศจิกายนที่ผ่านมา รับทราบถึงประสิทธิผลการป้องกันการติดเชื้อ จากการใช้งานจริงโดยใช้ฐานข้อมูลห้องปฏิบัติการสถาบันป้องกันควบคุมโรคเขตเมือง (สปคม.) ของผู้รับบริการเขต กทม. และข้อมูลการฉีดวัคซีนในระบบหมอพร้อมเมื่อเดือนกันยายน 2564 พบว่า...👩💻
แอสตร้าเซนเนก้า 2 เข็ม ป้องกันติดเชื้อ 54%
สูตรไขว้ซิโนแวค-แอสตร้าเซนเนก้า ป้องกันติดเชื้อ 70% ถือว่ามีประสิทธิผลน่าพอใจ และเป็นอีกเหตุผลหนึ่งที่ กทม. ลดการระบาดได้ดี
สำหรับสัปดาห์หน้าจะมีวัคซีนแอสตร้าเซนเนก้าส่งมอบอีก 2 ล้านโดส ซึ่งเป็นไปตามแผน และปลายเดือนนี้จะส่งครบตามที่กำหนด และไฟเซอร์ส่งเพิ่มอีก 6 ล้านโดส
ดังนั้น สัปดาห์หน้าจะมี 8 ล้านโดส และได้รับการประสานจากประเทศจีนว่าจะบริจาคซิโนแวคให้ประเทศไทยอีก 1.5 ล้านโดส
โดยคณะอนุกรรมการสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรคยังมีมติให้คำแนะนำการฉีดวัคซีน คือ...🔓
1. ฉีดวัคซีนโควิดชั้นผิวหนังได้กรณีวัคซีนมีจำกัด เนื่องจากประสิทธิผลใกล้เคียงกับการฉีดเข้ากล้ามเนื้อ พบผลข้างเคียงทางผิวหนังชัดกว่า แต่ผลข้างเคียงภาพรวม เช่น การเป็นไข้ลดน้อยลง เพราะใช้วัคซีนปริมาณน้อยกว่า
2. ฉีดวัคซีนไข้หวัดใหญ่และวัคซีนโควิด 19 ไปพร้อมๆ กันได้ เนื่องจากวัคซีนโควิดมีความปลอดภัยค่อนข้างสูง ฉีดเกือบ 80 ล้านโดส อาการรุนแรงจากวัคซีนมีไม่มาก
3. ผู้รับวัคซีนแอสตร้าเซนเนก้า 2 เข็ม ให้กระตุ้นเข็ม 3 ได้ทั้งไฟเซอร์และโมเดอร์นา ระยะห่างจากเข็มสอง 6 เดือนขึ้นไป โดยผู้ที่รับครบช่วงพฤษภาคม-มิถุนายน สามารถไปลงทะเบียนยังจุดฉีดใกล้บ้านได้ตามความสมัครใจ
4. กรณีแพ้วัคซีนให้เปลี่ยนชนิดวัคซีนได้ ตามเกณฑ์ที่กำหนดหรือตามดุลยพินิจของแพทย์ ซึ่งการฉีดจะเริ่มจากเชื้อตาย ไวรัลเวคเตอร์ และ mRNA ส่วนกรณีที่มีความจำเป็นต้องไปต่างประเทศ ให้พิจารณาฉีดตามข้อกำหนดของประเทศปลายทางเป็นรายกรณี
ส่วนการฉีดวัคซีนโมเดอร์นา คณะอนุกรรมการฯ มีคำแนะนำให้ฉีดตามเอกสารกำกับยาของบริษัท ทั้งการฉีดสูตรปกติและสูตรไขว้ให้ฉีดห่างกัน 4 สัปดาห์ สามารถฉีดได้ในอายุ 12 ปีขึ้นไป ใช้ฉีดกระตุ้นผู้ที่รับซิโนแวค 2 เข็มหรือซิโนฟาร์ม 2 เข็ม ตั้งแต่ 4 สัปดาห์ขึ้นไปได้
ซึ่งศูนย์ปฏิบัติการด้านการแพทย์และสาธารณสุขมีมติรับทราบและให้คณะกรรมการโรคติดต่อจังหวัดนำไปปฏิบัติให้สอดคล้องกับสถานการณ์จังหวัดตนเอง สำหรับผู้ที่ฉีดซิโนฟาร์มครบ 2 เข็มช่วงเดือนมิถุนายน สามารถติดต่อจุดฉีดวัคซีนหรือสำนักงานสาธารณสุขจังหวัด เพื่อลงทะเบียนรับเข็มกระตุ้นได้ฟรีตั้งแต่สัปดาห์หน้าเป็นต้นไป ส่วนผู้ที่ฉีดสูตรไขว้ซิโนแวค-แอสตร้าเซนเนก้าแนะนำให้รอประมาณ 5-6 เดือนจึงจะฉีดกระตุ้นได้
และเพื่อให้ประชาชนได้รับข้อมูลข่าวสารจากกรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข
สามารถติดตามได้ที่เว็บไซต์ ddc.moph.go.th หรือโทร. 02-590-3000
หน่วยงานที่ตรวจสอบ : กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข
https://mgronline.com/factcheck/detail/9640000110995
ติดตามข่าวโควิดกันนะคะ