สวัสดีครับ วันนี้ผมย้อนกลับไปศึกษาเรื่องกฎทรงมวล ทำให้ผมเกิดข้อสงสัยว่า จำเป็นมั้ยที่สารก่อนปฏิกิริยาจะต้องเท่ากับสารหลังปฏิกิริยาเสมอ
โดยส่วนตัวผมคิดว่าไม่จำเป็นเพราะสารบางอย่างอาจจะระเหยไปก็ได้(ระบบเปิด) ซึ่งจะทรงมวลได้ต้องเป็นระบบปิด
แล้วก็อีกอย่างนึงคือเวลาคิดกฎทรงมวลแล้ว พอไปเทียบกับการคิดแบบอัตราส่วนโมลปกติ
จะได้ว่าจำนวนมวลของสารที่เป็นกรัมที่คิดจากอัตราส่วนโมลมีจำนวนมวลก่อนปฏิกิริยาไม่เท่ากับหลังปฏิกิริยา
หรือจะเป็นเพราะสารบางอย่างอาจจะระเหยไปก็ได้เหมือนกับเหตุผลเเรก
ยกตัวอย่างเช่น Na2CO3+HCl —> NaCl +H2O+CO2
ถ้าหากว่าเราให้สารตั้งต้น Na2CO3 2.86 g
HCl 0.73g ซึ่งแน่นอนถ้าผมคิดไม่ผิดจะได้ว่าจำนวนของ HCl เป็นสารกำหนดปริมาณ
พอนำไปคิดตามกฎทรงมวลปุ๊ปก็ไม่ตรงกับกฎ มีผู้รู้คนไหนพอจะอธิบายเพิ่มเติมได้ไหมครับ
กฎทรงมวล
โดยส่วนตัวผมคิดว่าไม่จำเป็นเพราะสารบางอย่างอาจจะระเหยไปก็ได้(ระบบเปิด) ซึ่งจะทรงมวลได้ต้องเป็นระบบปิด
แล้วก็อีกอย่างนึงคือเวลาคิดกฎทรงมวลแล้ว พอไปเทียบกับการคิดแบบอัตราส่วนโมลปกติ
จะได้ว่าจำนวนมวลของสารที่เป็นกรัมที่คิดจากอัตราส่วนโมลมีจำนวนมวลก่อนปฏิกิริยาไม่เท่ากับหลังปฏิกิริยา
หรือจะเป็นเพราะสารบางอย่างอาจจะระเหยไปก็ได้เหมือนกับเหตุผลเเรก
ยกตัวอย่างเช่น Na2CO3+HCl —> NaCl +H2O+CO2
ถ้าหากว่าเราให้สารตั้งต้น Na2CO3 2.86 g
HCl 0.73g ซึ่งแน่นอนถ้าผมคิดไม่ผิดจะได้ว่าจำนวนของ HCl เป็นสารกำหนดปริมาณ
พอนำไปคิดตามกฎทรงมวลปุ๊ปก็ไม่ตรงกับกฎ มีผู้รู้คนไหนพอจะอธิบายเพิ่มเติมได้ไหมครับ