สุดยอดความคิดเห็น
ความคิดเห็นที่ 5
ตามความเห็นผม ไม่น่าจะจริง เพราะ
1.งานวิจัยนี้วัดค่าจากภูมิฯซึ่ง ไม่ได้บอกประสิทธิภาพ แค่คาดว่าจะเป็นผลต่อกัน
2.SV ภูมิฯตกเร็ว ดังนั้น SV+AZ ภูมิฯอาจจะตกเร็วกว่า AZ+AZ
3.งานวิจัยนี้เหมือนจะทำเฟื่อสนับสนุนการระบาย SV ดังนั้นอาจจะเลือกตัวแปรซึ่งให้ได้ผลตามที่ต้องการ เช่น ระยะเวลาวัดภูมิฯเลือกช่วงที่ SV ได้ค่าสูง ดังนั้นผลวิจัยนี้ความน่าเชื่อถือต่ำครับ
1.งานวิจัยนี้วัดค่าจากภูมิฯซึ่ง ไม่ได้บอกประสิทธิภาพ แค่คาดว่าจะเป็นผลต่อกัน
2.SV ภูมิฯตกเร็ว ดังนั้น SV+AZ ภูมิฯอาจจะตกเร็วกว่า AZ+AZ
3.งานวิจัยนี้เหมือนจะทำเฟื่อสนับสนุนการระบาย SV ดังนั้นอาจจะเลือกตัวแปรซึ่งให้ได้ผลตามที่ต้องการ เช่น ระยะเวลาวัดภูมิฯเลือกช่วงที่ SV ได้ค่าสูง ดังนั้นผลวิจัยนี้ความน่าเชื่อถือต่ำครับ
ความคิดเห็นที่ 8
ที่จริงก็มีผลการศึกษา วิจัย มากมายในไทย โดยเฉพาะมหาวิทยาลัยที่มีคณะแพทย์ ตัวเลขเก็บค่า๓ูมิส่วนใหญ่จะใกล้เคียงกัน
ส่วนลิ้งค์ที่ จขกท แนบมา น่าจะเป็นของศูนย์วิจัยคลีนิคศิริราช ซึ่งเป็นศูนย์วิจัยที่มีเครื่องไม่เครื่องมือดีที่สุดแห่งนึงในประเทศ
มีห้องชีวนิรภัยระดับ 3 จึงสามารถออกแบบการทดสอบตัวนี้อย่างได้มาตรฐานได้
และตอนนี้หมอส่วนใหญ่ก็น่าจะมีความเห็นไปในทางเดียวกันว่า การใช้ ชิโนแวคเป็นเข็มตั้งต้น แล้วตามด้วย แอสต้าหรือไฟเซอร์
จะให้ค่าภูมิฯสูงขึ้นอย่างมากแบบชัดเจน
ส่วนสาเหตุที่มีการมีสูตรไข้วก็เป็นความโชคดีที่ อจ.ยง ท่านได้มีการวิจัยเก็บข้อมูลอาสาสมัครตั้งแต่มีการฉีดแรกๆ เราจึงมีไกด์ไลน์
ให้เห็นว่าการฉีดวัคซีนสูตรไข้วก็มีประสิทธิภาพดีระดับนึง จึงถูกนำมาต่อยอดทำงานวิจัยจากแหล่งอื่นมากยิ่งขึ้น
ส่วนการเลือกแต่ละสูตรในแต่ละพื้นที่ เข้าใจว่ามีการปรับตามสถานการณ์ขณะนั้นๆ กทม.ขณะนั้นมีการแพร่ระบาดสูง การฉีดAZเข็มแรก
มันสามารถสร้างภูมิได้มากพอที่จะพอสู้กับเดลต้าไหว ส่วนต่างจังหวัดปรับมาใช้สูตรไข้วเพราะส่วนใหญ่ยังมีความเสี่ยงน้อย และเพื่อ
การบริหารจัดการวัคซีนที่AZมีจำนวนจำกัด ซึ่งถ้าเรามัวแต่รอนั่นนี่ป่านนี้คงฉีดได้แค่ 30-40ล้านโดสกับคนแค่ กทม.ปริมณทลเป็นหลัก
แต่นี่เราสามารถจัดการได้ทั้งเขต กทม. แถมพื้นที่ต่างจังหวัดส่วนใหญ่ก็ได้รับเข็มแรกเกิน 50%ของเป้าหมายกันแล้ว
วัคซีนทุกโดสมีค่ามากพอครับ และทุกวันนี้เค้าก็มีการปรับแก้ไขตามสถานการณ์กันตลอดเวลา ภูมิตก ภูมิต่ำ ก็หาสูตรมาบู๊สให้ รวมๆ
ถ้าเทียบกับภายในภูมิภาคเราก็ดูดีอยู่นะครับ
ปล.การตกช้าเร็วของภูมิ ส่วนใหญ่จะขึ้นกับเข็มล่าสุดที่ฉีดครับ
ส่วนลิ้งค์ที่ จขกท แนบมา น่าจะเป็นของศูนย์วิจัยคลีนิคศิริราช ซึ่งเป็นศูนย์วิจัยที่มีเครื่องไม่เครื่องมือดีที่สุดแห่งนึงในประเทศ
มีห้องชีวนิรภัยระดับ 3 จึงสามารถออกแบบการทดสอบตัวนี้อย่างได้มาตรฐานได้
และตอนนี้หมอส่วนใหญ่ก็น่าจะมีความเห็นไปในทางเดียวกันว่า การใช้ ชิโนแวคเป็นเข็มตั้งต้น แล้วตามด้วย แอสต้าหรือไฟเซอร์
จะให้ค่าภูมิฯสูงขึ้นอย่างมากแบบชัดเจน
ส่วนสาเหตุที่มีการมีสูตรไข้วก็เป็นความโชคดีที่ อจ.ยง ท่านได้มีการวิจัยเก็บข้อมูลอาสาสมัครตั้งแต่มีการฉีดแรกๆ เราจึงมีไกด์ไลน์
ให้เห็นว่าการฉีดวัคซีนสูตรไข้วก็มีประสิทธิภาพดีระดับนึง จึงถูกนำมาต่อยอดทำงานวิจัยจากแหล่งอื่นมากยิ่งขึ้น
ส่วนการเลือกแต่ละสูตรในแต่ละพื้นที่ เข้าใจว่ามีการปรับตามสถานการณ์ขณะนั้นๆ กทม.ขณะนั้นมีการแพร่ระบาดสูง การฉีดAZเข็มแรก
มันสามารถสร้างภูมิได้มากพอที่จะพอสู้กับเดลต้าไหว ส่วนต่างจังหวัดปรับมาใช้สูตรไข้วเพราะส่วนใหญ่ยังมีความเสี่ยงน้อย และเพื่อ
การบริหารจัดการวัคซีนที่AZมีจำนวนจำกัด ซึ่งถ้าเรามัวแต่รอนั่นนี่ป่านนี้คงฉีดได้แค่ 30-40ล้านโดสกับคนแค่ กทม.ปริมณทลเป็นหลัก
แต่นี่เราสามารถจัดการได้ทั้งเขต กทม. แถมพื้นที่ต่างจังหวัดส่วนใหญ่ก็ได้รับเข็มแรกเกิน 50%ของเป้าหมายกันแล้ว
วัคซีนทุกโดสมีค่ามากพอครับ และทุกวันนี้เค้าก็มีการปรับแก้ไขตามสถานการณ์กันตลอดเวลา ภูมิตก ภูมิต่ำ ก็หาสูตรมาบู๊สให้ รวมๆ
ถ้าเทียบกับภายในภูมิภาคเราก็ดูดีอยู่นะครับ
ปล.การตกช้าเร็วของภูมิ ส่วนใหญ่จะขึ้นกับเข็มล่าสุดที่ฉีดครับ
แสดงความคิดเห็น
ได้ข่าวจากผลวิจัย Sinovac+AzstraZeneca ให้ประสิทธิภาพดีกว่า AZ+AZ 2 เข็ม จริงหรือครับ
ต่างจังหวัด ซิโนแวค+แอสต้รา
ถ้าฉีดไขว้ประสิทธิภาพดีกว่า ทำไมไม่เปลี่ยนฉีดไขว้ให้คนกรุงเทพ
ฉีดแอสตร้า 2 เข็มให้คนต่างจังหวัด
น่าจะเหมาะกว่าหรือเปล่าครับ เพราะแหล่งระบาดใหญ่อยู่ที่กรุงเทพ
แหล่งระบาดน้อยกว่าอยู่ต่างจังหวัด
แอสตร้า 2 เข็มที่มีประสิทธิภาพน้อยกว่า ก็ให้คนต่างจังหวัดฉีดไป
ทำไมแหล่งระบาดใหญ่ในกรุงเทพกลับใช้แอสตร้า 2 เข็มที่มีประสิทธิภาพน้อยกว่าฉีดไขว้ครับ
ขอบคุณทุกคำตอบล่วงหน้าครับ