คำตอบที่ได้รับเลือกจากเจ้าของกระทู้
ความคิดเห็นที่ 3
มาตรา 1598/28 บุตรบุญธรรมย่อมมีฐานะอย่างเดียวกับบุตรชอบด้วยกฎหมายของผู้รับบุตรบุญธรรมนั้น
แต่ไม่สูญสิทธิและหน้าที่ในครอบครัวที่ได้กำเนิดมา
ในกรณีเช่นนี้ ให้บิดามารดาโดยกำเนิดหมดอำนาจปกครองนับแต่วันเวลาที่เด็กเป็นบุตรบุญธรรมแล้ว
มาตรา 1627 บุตรนอกกฎหมายที่บิดาได้รับรองแล้วและบุตรบุญธรรมนั้น ให้ถือว่าเป็นผู้สืบสันดาน เหมือนกับบุตรที่ชอบด้วยกฎหมาย ตามความหมายแห่งประมวลกฎหมายนี้
บุตรที่ได้ยกให้เป็นบุตรบุญธรรมของผู้อื่นไปแล้วนั้น
ยังเป็นทายาทที่มีสิทธิรับมรดกได้อยู่หรือไม่
และเป็นลำดับที่เท่าไหร่ครับ
-บุตรบุญธรรมยังเป็นทายาทที่มีสิทธิรับมรดกจากครอบครัวที่ได้กําเนิด
และเป็นทายาทลําดับบที่ 1 ครับ/ทนายอภิสิทธิ์
แต่ไม่สูญสิทธิและหน้าที่ในครอบครัวที่ได้กำเนิดมา
ในกรณีเช่นนี้ ให้บิดามารดาโดยกำเนิดหมดอำนาจปกครองนับแต่วันเวลาที่เด็กเป็นบุตรบุญธรรมแล้ว
มาตรา 1627 บุตรนอกกฎหมายที่บิดาได้รับรองแล้วและบุตรบุญธรรมนั้น ให้ถือว่าเป็นผู้สืบสันดาน เหมือนกับบุตรที่ชอบด้วยกฎหมาย ตามความหมายแห่งประมวลกฎหมายนี้
บุตรที่ได้ยกให้เป็นบุตรบุญธรรมของผู้อื่นไปแล้วนั้น
ยังเป็นทายาทที่มีสิทธิรับมรดกได้อยู่หรือไม่
และเป็นลำดับที่เท่าไหร่ครับ
-บุตรบุญธรรมยังเป็นทายาทที่มีสิทธิรับมรดกจากครอบครัวที่ได้กําเนิด
และเป็นทายาทลําดับบที่ 1 ครับ/ทนายอภิสิทธิ์
แสดงความคิดเห็น
บุตรบุญธรรมมีสิทธิรับมรดกจากพ่อแม่ที่แท้จริงได้หรือไม่
ได้ยกบุตรให้เป็นบุตรบุญธรรมของผู้อื่น
เมื่อภายหลังบิดามารดาผู้ให้กำเนิดเสียชีวิตและมีทรัพย์
บุตรที่ได้ยกให้เป็นบุตรบุญธรรมของผู้อื่นไปแล้วนั้น
ยังเป็นทายาทที่มีสิทธิรับมรดกได้อยู่หรือไม่
และเป็นลำดับที่เท่าไหร่ครับ