คำตอบที่ได้รับเลือกจากเจ้าของกระทู้
สุดยอดความคิดเห็น
ความคิดเห็นที่ 2
ข้อเสีย
1. ช้าแค่ไหน เอามาเป็นตัวเลข งานต้องส่งวันนี้ แล้วส่งถัดไปอีกสามวัน หรือยังไง^^แล้วตัวเลขที่บ่งบอกว่าช้า มีการตกลงกันมาก่อนหรือเปล่า ว่าถ้าไม่ใช่เวลานี้เรียกว่าช้านะ
2. ประสบการณ์ไงล่ะ ชั่วโมงบินน้อย เอาความมั่นใจอะไรไปตัดสินใจ^^เกิดอะไรขึ้นมาจะไม่ดีเอา
3. โทรตามน้องสิครับ ไปนั่งรออะไรเป็นวัน แล้วระบบขององค์กรมีแค่ไลน์รึไง องค์กรอื่นมี แพลตฟอร์ม เยอะเลย ในการที่จะบอกว่าคนๆนี้ทำงานอยู่หรือเปล่า^^
การประเมินใครสักคน ว่าผ่านโปรหรือเปล่า ไม่ใช่คนประเมินนึกเอาเองหรือคิดเอาเอง^^มันมีเครื่องมืออยู่ในการตกลงร่วมกัน มีรายละเอียดเป็น criteria ต่างๆ อะไรที่นอกเหนือข้อตกลงที่คุยกันก่อน ระหว่าง ผู้ประเมิน และ ผู้รับการประเมิน อย่าเอามาคิด^^ไม่ใชเอาโน้นเอานี่ จุกจิกๆ มาร่วมการประเมิน ไม่เช่นนั้นจะไม่เป็นธรรมกับน้องเขา
1. ช้าแค่ไหน เอามาเป็นตัวเลข งานต้องส่งวันนี้ แล้วส่งถัดไปอีกสามวัน หรือยังไง^^แล้วตัวเลขที่บ่งบอกว่าช้า มีการตกลงกันมาก่อนหรือเปล่า ว่าถ้าไม่ใช่เวลานี้เรียกว่าช้านะ
2. ประสบการณ์ไงล่ะ ชั่วโมงบินน้อย เอาความมั่นใจอะไรไปตัดสินใจ^^เกิดอะไรขึ้นมาจะไม่ดีเอา
3. โทรตามน้องสิครับ ไปนั่งรออะไรเป็นวัน แล้วระบบขององค์กรมีแค่ไลน์รึไง องค์กรอื่นมี แพลตฟอร์ม เยอะเลย ในการที่จะบอกว่าคนๆนี้ทำงานอยู่หรือเปล่า^^
การประเมินใครสักคน ว่าผ่านโปรหรือเปล่า ไม่ใช่คนประเมินนึกเอาเองหรือคิดเอาเอง^^มันมีเครื่องมืออยู่ในการตกลงร่วมกัน มีรายละเอียดเป็น criteria ต่างๆ อะไรที่นอกเหนือข้อตกลงที่คุยกันก่อน ระหว่าง ผู้ประเมิน และ ผู้รับการประเมิน อย่าเอามาคิด^^ไม่ใชเอาโน้นเอานี่ จุกจิกๆ มาร่วมการประเมิน ไม่เช่นนั้นจะไม่เป็นธรรมกับน้องเขา
ความคิดเห็นที่ 10
เอาจากที่ยังเป็นอยู่ตอนนี้นะ
ตอนที่เรารับเด็กใหม่มา เราจะอธิบายทีละขั้นตอน
แล้วเราจะถามน้องกลับว่า เข้าใจไหม ถ้าเข้าใจ คือเข้าใจว่ายังไง
แล้วเราจะฟังว่าเค้าอธิบายในสิ่งที่เค้าเข้าใจว่ายังไงก่อนค่ะ
อันไหนที่เค้านึกภาพไม่ออก เราจะพาเด็กทำที่หน้างานจริงและอธิบายไปด้วยค่ะ
จากนั้นในแต่ละขั้นตอน เราจะมีตัวอย่างให้เค้าลองหัดทำตามก่อน
โดยที่เรายังคุมท้ายให้ ถ้ามีอะไรที่ตกหล่นบ้าง
เมื่อเวลาผ่านไป ก็จะลองให้ทำเองค่ะ แต่เรายังคงตรวจสอบอยู่
สิ่งที่เราจะทำควบคู่ไปกับการติงเด็กคือ เราจะชมในส่วนที่น้องทำได้ดีด้วยค่ะ
แล้วจะเสริมไปว่า ให้ลองทำแบบนี้เพิ่ม ให้ลองทำดู ไม่ต้องกลัวผิด ถ้าไม่มั่นใจ ให้มาถามได้เลย
หลายครั้งที่มีผิดพลาด แต่เราจะอธิบายเค้าว่าที่เค้าทำมันผิดตรงไหน และน่าจะต้องปรับอะไรบ้าง
จากเด็กที่ค่อนข้างขี้อายไม่ค่อยมั่นใจในช่วงแรกๆ
พัฒนาการเค้าดีขึ้นค่ะ มีความมั่นใจในงานที่จะลงมือทำ ถึงแม้ในตอนแรกจะต้องคอยตอบคำถามค่อนข้างถี่
แต่เมื่อให้คำตอบกับเด็กที่ค่อนข้างเคลียร์แล้ว เค้าจะไม่กลับมาถามซ้ำค่ะ
สิ่งที่เราได้มากกว่านั้นคือ เค้าเปิดใจกับทีม และเค้าจะถามมากขึ้นไปอีกว่า
ถ้าเค้าทำแบบนี้ มันจะทำให้งานที่เค้าทำมันดีขึ้น หรือสะดวกขึ้นหรือเปล่า
เราปล่อยให้เค้าทำในส่วนที่เค้าอยากเสนอไอเดียมา ควบคู่กับโฟลวงานที่ต้องทำอยู่ก่อนค่ะ
ซึ่งเรารับรู้ได้ว่าเค้าเปิดใจกับทีมงานและทุกๆคนในการแชร์ไอเดียของเค้ามากขึ้นกว่าตอนแรกที่กล้าๆกลัวๆ
การที่ต้องรับคนใหม่เข้ามาทำงาน โอกาสผิดพลาดมันมีโอกาสเกิดขึ้นได้อยู่แล้วค่ะ
แต่เราต้องจะคอยทวนตัวเองเสมอค่ะ ว่าเวลาเราส่งสารไปให้เค้าแต่ละครั้ง
เป็นที่เราเองหรือเปล่าที่ส่งสารให้ไม่ชัดเจน หรือโค้ชชิ่งเค้าไม่มากพอด้วยหรือเปล่า
แต่ถ้าเค้าจะไม่สามารถเรียนรู้งานที่มีอยู่ได้ทั้งหมดในคราวเดียว
เราจะแบ่งงานเป็นส่วนๆแล้วให้เค้าได้ทำทีละน้อยๆก่อน แล้วติดตามผลว่าเค้าทำงานยังไงบ้าง
ถ้าไม่ได้จริงๆ ต้องเรียกเค้ามาอธิบายในงานแต่ละส่วนที่เค้าทำ แล้วแจ้งผล
แล้วก็ถามว่าเค้ายังอยากจะไปต่อมั้ย ถ้ายังอยากไป ให้กลับมาลองกันอีกสักตั้ง ก่อนจะแยกจากกันจริงจัง
ตอนที่เรารับเด็กใหม่มา เราจะอธิบายทีละขั้นตอน
แล้วเราจะถามน้องกลับว่า เข้าใจไหม ถ้าเข้าใจ คือเข้าใจว่ายังไง
แล้วเราจะฟังว่าเค้าอธิบายในสิ่งที่เค้าเข้าใจว่ายังไงก่อนค่ะ
อันไหนที่เค้านึกภาพไม่ออก เราจะพาเด็กทำที่หน้างานจริงและอธิบายไปด้วยค่ะ
จากนั้นในแต่ละขั้นตอน เราจะมีตัวอย่างให้เค้าลองหัดทำตามก่อน
โดยที่เรายังคุมท้ายให้ ถ้ามีอะไรที่ตกหล่นบ้าง
เมื่อเวลาผ่านไป ก็จะลองให้ทำเองค่ะ แต่เรายังคงตรวจสอบอยู่
สิ่งที่เราจะทำควบคู่ไปกับการติงเด็กคือ เราจะชมในส่วนที่น้องทำได้ดีด้วยค่ะ
แล้วจะเสริมไปว่า ให้ลองทำแบบนี้เพิ่ม ให้ลองทำดู ไม่ต้องกลัวผิด ถ้าไม่มั่นใจ ให้มาถามได้เลย
หลายครั้งที่มีผิดพลาด แต่เราจะอธิบายเค้าว่าที่เค้าทำมันผิดตรงไหน และน่าจะต้องปรับอะไรบ้าง
จากเด็กที่ค่อนข้างขี้อายไม่ค่อยมั่นใจในช่วงแรกๆ
พัฒนาการเค้าดีขึ้นค่ะ มีความมั่นใจในงานที่จะลงมือทำ ถึงแม้ในตอนแรกจะต้องคอยตอบคำถามค่อนข้างถี่
แต่เมื่อให้คำตอบกับเด็กที่ค่อนข้างเคลียร์แล้ว เค้าจะไม่กลับมาถามซ้ำค่ะ
สิ่งที่เราได้มากกว่านั้นคือ เค้าเปิดใจกับทีม และเค้าจะถามมากขึ้นไปอีกว่า
ถ้าเค้าทำแบบนี้ มันจะทำให้งานที่เค้าทำมันดีขึ้น หรือสะดวกขึ้นหรือเปล่า
เราปล่อยให้เค้าทำในส่วนที่เค้าอยากเสนอไอเดียมา ควบคู่กับโฟลวงานที่ต้องทำอยู่ก่อนค่ะ
ซึ่งเรารับรู้ได้ว่าเค้าเปิดใจกับทีมงานและทุกๆคนในการแชร์ไอเดียของเค้ามากขึ้นกว่าตอนแรกที่กล้าๆกลัวๆ
การที่ต้องรับคนใหม่เข้ามาทำงาน โอกาสผิดพลาดมันมีโอกาสเกิดขึ้นได้อยู่แล้วค่ะ
แต่เราต้องจะคอยทวนตัวเองเสมอค่ะ ว่าเวลาเราส่งสารไปให้เค้าแต่ละครั้ง
เป็นที่เราเองหรือเปล่าที่ส่งสารให้ไม่ชัดเจน หรือโค้ชชิ่งเค้าไม่มากพอด้วยหรือเปล่า
แต่ถ้าเค้าจะไม่สามารถเรียนรู้งานที่มีอยู่ได้ทั้งหมดในคราวเดียว
เราจะแบ่งงานเป็นส่วนๆแล้วให้เค้าได้ทำทีละน้อยๆก่อน แล้วติดตามผลว่าเค้าทำงานยังไงบ้าง
ถ้าไม่ได้จริงๆ ต้องเรียกเค้ามาอธิบายในงานแต่ละส่วนที่เค้าทำ แล้วแจ้งผล
แล้วก็ถามว่าเค้ายังอยากจะไปต่อมั้ย ถ้ายังอยากไป ให้กลับมาลองกันอีกสักตั้ง ก่อนจะแยกจากกันจริงจัง
ความคิดเห็นที่ 15
จากประสบการณ์
เราจะเห็น sign ได้ตั้งแต่เดือนแรกแล้ว
ที่บริษัท จะนัดคุยทุกเดือน แล้วเตือนให้ปรับปรุง
แต่ไม่เคยที่จะไม่ให้ผ่านโปรเลยสักคนที่มีปัญหา มีแต่คนบอกว่าสงสาร
เราเลยมีพนักงานที่ทำงานไม่ได้เรื่องอยู่ 3 คนเท่าที่เคยเจอมาตลอดเวลาที่ผ่านมา
พอวันข้างหน้า เวลามีปัญหา เค้าซึ่งก็เป็นไอ้พวกที่บอกว่าสงสารก็จะบอกว่า ก็คุณเลือกเข้ามาเองนี่
ทั้ง ๆ ที่ พวกเอ็ง รวมถึงHR ก็เสนอหน้าเข้ามานั่งสัมภาษณ์ด้วย ให้คะแนนด้วย รับชอบ แต่ไม่รับผิด
พอมีปัญหา ก็ลอยตัว
ดังนั้น ลองชั่งน้ำหนักดู ว่าวันที่คุณอยู่ในจุดเดียวกับเค้า คุณทำได้ดีกว่าเค้าไม๊ คนโดยทั่วไป ทำได้ดีกว่าเค้ารึเปล่า
ถ้าเค้าทำได้เหมือนคนทั่วไป ก็เก็บไว้ครับ
แต่ถ้าดูแล้ว พัฒนาไม่ได้ (ผมเคยหลงคิดว่า คนเราปรับกันได้ เลยให้โอกาส แต่บางเรื่องมันเป็นสิ่งติดตัวมาเลย แก้ไม่ได้) ก็ลองคิดดูอีกทีครับ
ตอนนี้ บริษัทผมพนง. จบ ป.โท มา แต่ทำไรไม่เป็นเลย อ่านขั้นตอนการทำวิจัยยังไม่เป็นเลย ห่วยกว่าเด็กจบใหม่ ป.ตรีอีก ตอนนี้ ผม black list มหาลัยแห่งนั้นไปเลย ว่าคนแบบนี้ คุณปล่อยให้จบ ป โทมาได้ไง มาตรฐานคุณต้องห่วยมาก ๆ มหาลัยรัฐ ระดับ TOP 10 ด้วยซ้ำ ไม่ระบุให้แคบกว่านี้ เดี๋ยวรู้ว่าที่ไหน
ผมต้องรับผิดชอบ แต่ไอ้คนที่บอกว่าสงสารตอนโปร ไม่ให้คัดออก มากระหน่ำผมว่า ผมรับมาเองนี่ หลังจากนี้ ผมมีบทเรียนแล้ว ผมจะไม่ฟังใคร เชื่อเหตุผลดีกว่า
เราจะเห็น sign ได้ตั้งแต่เดือนแรกแล้ว
ที่บริษัท จะนัดคุยทุกเดือน แล้วเตือนให้ปรับปรุง
แต่ไม่เคยที่จะไม่ให้ผ่านโปรเลยสักคนที่มีปัญหา มีแต่คนบอกว่าสงสาร
เราเลยมีพนักงานที่ทำงานไม่ได้เรื่องอยู่ 3 คนเท่าที่เคยเจอมาตลอดเวลาที่ผ่านมา
พอวันข้างหน้า เวลามีปัญหา เค้าซึ่งก็เป็นไอ้พวกที่บอกว่าสงสารก็จะบอกว่า ก็คุณเลือกเข้ามาเองนี่
ทั้ง ๆ ที่ พวกเอ็ง รวมถึงHR ก็เสนอหน้าเข้ามานั่งสัมภาษณ์ด้วย ให้คะแนนด้วย รับชอบ แต่ไม่รับผิด
พอมีปัญหา ก็ลอยตัว
ดังนั้น ลองชั่งน้ำหนักดู ว่าวันที่คุณอยู่ในจุดเดียวกับเค้า คุณทำได้ดีกว่าเค้าไม๊ คนโดยทั่วไป ทำได้ดีกว่าเค้ารึเปล่า
ถ้าเค้าทำได้เหมือนคนทั่วไป ก็เก็บไว้ครับ
แต่ถ้าดูแล้ว พัฒนาไม่ได้ (ผมเคยหลงคิดว่า คนเราปรับกันได้ เลยให้โอกาส แต่บางเรื่องมันเป็นสิ่งติดตัวมาเลย แก้ไม่ได้) ก็ลองคิดดูอีกทีครับ
ตอนนี้ บริษัทผมพนง. จบ ป.โท มา แต่ทำไรไม่เป็นเลย อ่านขั้นตอนการทำวิจัยยังไม่เป็นเลย ห่วยกว่าเด็กจบใหม่ ป.ตรีอีก ตอนนี้ ผม black list มหาลัยแห่งนั้นไปเลย ว่าคนแบบนี้ คุณปล่อยให้จบ ป โทมาได้ไง มาตรฐานคุณต้องห่วยมาก ๆ มหาลัยรัฐ ระดับ TOP 10 ด้วยซ้ำ ไม่ระบุให้แคบกว่านี้ เดี๋ยวรู้ว่าที่ไหน
ผมต้องรับผิดชอบ แต่ไอ้คนที่บอกว่าสงสารตอนโปร ไม่ให้คัดออก มากระหน่ำผมว่า ผมรับมาเองนี่ หลังจากนี้ ผมมีบทเรียนแล้ว ผมจะไม่ฟังใคร เชื่อเหตุผลดีกว่า
แสดงความคิดเห็น
กำลังจะตัดสินใจให้น้องคนนึงไม่ผ่านโปรค่ะ