มีงานวิจัยการสร้างที่กันราก คล้ายเป็นผนัง/กำแพงประเภทต่าง ๆ
เพื่อเบี่ยงเบนราก หรือป้องกันรากต้นไม้บุกรุกเข้ามา
โดยทั่วไปแล้วจะติดตั้งในแนวตั้งลงในพื้นดิน
โดยมีจุดประสงค์หลักให้รากให้เติบโตลึกลงไปในดิน
หรือเติบโตไปในอีกทางหนึ่งไม่เข้ามาใกล้สิ่งปลูกสร้าง
มักจะทำจากแผ่นเหล็กชุบสังกะสี พลาสติก ผ้าใบ
บางครั้งก็ชุบผ้าใบหรือพลาสติคด้วยสารเคมีกำจัดวัชพืช
มีงานวิจัยที่เผยแพร่เกี่ยวกับอุปกรณ์เหล่านี้ 6 ภาพ
รากจะเบี่ยงออกในแนวตั้ง หรืออยู่ใต้สิ่งกีดขวาง
หรืองอกกลับขึ้นไปที่ผิวดิน (ในดินที่มีการระบายน้ำไม่ดี)
หรืออาจยังคงอยู่ที่ระดับความลึกของดินที่ลึกกว่า
(ในดินที่มีการระบายน้ำดีขึ้น) โดยลึกลงไปได้หลายฟุต
หมายเหตุ
รากที่ระดับผิวดินจะทำลายสิ่งปลูกสร้างได้มากกว่ารากระดับลึก
เช่น รากไทร รากหูกระจง รากมะพร้าว รากต้นตาล รากปาล์ม
แนวคิดชาวบ้าน ต้นไม้มีรากแก้ว รากจะหยั่งลึกลงเหมือนกับเสาเข็ม
ส่วนรากฝอยรากแขนงจะยาวเท่ากับ 1-1.5 ของทางใบ
แต่ต้นไม้ที่ไม่มีรากแก้ว จะมีรากแขนง รากฝอยยาวมาก
เช่น ต้นปาล์มน้ำมัน ต้นมะพร้าว มักยาวกว่า 2-3 เท่าทางใบ
เพื่อพยุงต้นไม่ให้ล้มง่าย ๆ เหมือนการทำคานทำฐานแผ่
ต้นไม้เหล่านี้ปลูกเมื่อ 6 ปีที่แล้วพร้อมกับที่กั้นราก
ที่เรียกว่า Biobarrier (ดูลูกศร) ด้านล่างของที่กั้นราก
อยู่สูงว่าผิวดิน 12 นิ้ว 30.5 เซนติเมตร
ด้านบนของที่กั้นรากอยู่ที่ผิวดิน
แต่ยังมีความจำเป็นที่ต้องมีการบำรุงรักษาเป็นระยะ ๆ
เพื่อป้องกันไม่ให้รากเติบโตขึ้นเหนือกำแพงกั้น
โดยต้องกำจัดดินและอินทรียวัตถุออกจากด้านบนของที่กั้นราก
(อย่าให้รากงอกข้ามมาได้โดยง่าย ๆ )
❀
❀
4
❀
ต้นไม้เหล่านี้ปลูกเมื่อ 6 ปีที่แล้วโดยไม่มีกั้นราก
ทำให้รากจำนวนมากงอกขึ้นจากโคนลำต้นใต้ผิวดิน
บางรากก็อยู่ลึกลงไปในดิน
❀
❀
5
❀
ต้นไม้เหล่านี้ปลูกเมื่อ 6 ปีที่แล้วโดยมีที่กั้นราก
ให้สังเกตว่า รากจำนวนมากถูกเบี่ยงเบนไปภายใต้ที่กั้นราก
แต่กลับงอกขึ้นสู่ผิวดิน เมื่อไปถึงอีกด้านหนึ่งของที่กั้นราก
ดูได้จากภาพถัดไปภาพที่ 4
❀
❀
6
❀
ภาพถ่ายระยะใกล้ของภาพหมายเลข 3
แสดงให้เห็นว่า รากงอกขึ้นสู่ผิวดินอย่างไร
เมื่อรากงอกไปชนที่กั้นรากอีกด้านหนึ่ง
ที่ฝังลึก 2 ฟุตครึ่ง 76.2 เซนติเมตร
ทางด้านซ้ายมือของภาพที่ แนวกั้นสูง 12 นิ้ว
30.5 เซ็นติเมตร (ลูกศร)
❀
❀
7
❀
รากต้นไม้มีการเจริญเติบโตภายใต้สิ่งกีดขวาง/ที่กั้นราก
รากต้นไม้จากด้านซ้ายมือและขอบบนของภาพ
ประมาณ 3 ฟุต (91.4 เซนติเมตร)
เมื่อที่กั้นรากถูกขุด/ถอดออกไปแล้ว
รากทั้งสามที่มีลูกศรชี้ไปที่กั้นรากนั้น
ต่างเติบโตข้างใต้ดิน แล้วเติบโตขึ้นไปบนผิวดิน
รากอื่น ๆ ส่วนใหญ่ในภาพนี้เติบโตในมุมที่ตื้นกว่า
รูปภาพถัดไปจะแสดงมุมมองทั้งหมดของระบบราก
ระบบน้ำใต้ผิวดินของพื้นดินบริเวณนี้ในระหว่างปี
มีความผันผวนช่วง 12 ถึง 48 นิ้ว (30.5-121.9 เซนติเมตร)
(ผิวดินถ้ามีน้ำฉ่ำ น้ำเยอะ รากแขนงรากฝอย
จะไม่งอกลงไปลึก เพราะแค่ผิวดินก็มีน้ำพอแล้ว)
❀
❀
8
❀
การเปิดหน้าดินให้เป็นคูน้ำกว้าง 4 ฟุต 121.9 เซนติเมตร นี้
ดินถูกขุดขึ้นมาหลังจากปลูกต้นไม้ได้ 6 ปีแล้ว
รากที่ทาสีขาวลึก จะอยู่ภายในที่กั้นราก
แถวหนึ่งจากที่กั้นราก 30 นิ้ว 76.2 เซนติเมตร
ที่ทำเป็นกำแพงสูง 12 นิ้ว 30.5 เซนติเมตร
อยู่หลังกำแพงดินทางด้านขวาของร่องลึก 6 นิ้ว 15.2 เซนติเมตร ราก (ทาสีขาว)
รากจะเติบโตภายใต้สิ่งกีดขวาง
แต่ยังสามารถเห็นการกระจายของราก
ที่ระดับความลึกทั้งหมดทางด้านขวาของร่องลึก (ดูลูกศร)
ที่กั้นรากคือ สิ่งกีดขวางสร้างอุปสรรคให้ต้นไม้
ทำให้ต้องเบี่ยงเบนรากไปยังชั้นดินที่ลึกกว่า
เมื่อเปรียบเทียบกับต้นไม้ที่ไม่มีสิ่งกีดขวาง
ให้สังเกตระยะ 6 ฟุต 182.8 เซนติเมตร
จากที่กั้นราก (ผนังด้านซ้ายของร่องลึก)
รากส่วนใหญ่จะอยู่ในดิน 12 นิ้ว 30.5 เซนติเมตร ด้านบนสุด
เรียบเรียง/ที่มา
https://bit.ly/3g0jKRW
https://bit.ly/2XomKkB
https://bit.ly/3jTDEPQ
https://bit.ly/3yMTYbm
หมายเหตุ
ในเมืองไทยมีการดัดแปลงมาปลูกในที่ควบคุม
เช่น
ปลูกมะนาวในปล่องบ่อ
❀
❀
❀
❀
❀
❀
ปลูกต้นไม้ในตะกร้า
ทำให้รากอยู่ในพื้นที่จำกัด การดูแลรักษา ให้ปุ๋ย
ตัดแต่งกิ่ง แต่งทางใบ รานใบได้ง่าย
©
เกษตรก้าวไกล
การปลูกไม้ผลในภาชนะ
ข้อดี
1. ปลูกได้ในพื้นที่จำกัด
2. สามารถปลูกได้กับผลไม้หลากหลายชนิด
3. ไม่มีปัญหาเรื่องสภาพดินที่ใช้ปลูก
4. สามารถเคลื่อนย้ายได้ง่าย
5. ควบคุมปริมาณน้ำและธาตุอาหารได้สะดวก
6. ออกดอกเร็วและง่ายกว่าการปลูกลงดิน
7. ขนาดทรงพุ่มเล็กทำให้ดูแลได้สะดวก
ข้อด้อย
1. ให้ผลผลิตต่อต้นน้อย (ถ้าใช้ภาชนะปลูกเล็ก)
2. ต้องมีการเปลี่ยนวัสดุปลูกเป็นระยะ ๆ
3. ต้องให้น้ำและปุ๋ยอย่างสม่ำเสมอ
4. ไม้ผลบางชนิดไม่เหมาะที่จะนำมาปลูก เช่น กล้วย ขนุน ทุเรียน มะพร้าว ขนุน เป็นต้น
5. มีการลงทุนค่อนข้างสูงในระยะแรก
❀
❀
❀
พื้นที่จำกัด ดินไม่ดี...ปลูกไม้ผลในภาชนะดีกว่า ม.เกษตรฯ มีให้ศึกษาแล้ว
❀
❀
❀
❀
❀
❀
ที่กันรากป้องกันรากต้นไม้ชอนไช
❀
© https://bit.ly/3xL3ZnR
❀
❀
มีงานวิจัยการสร้างที่กันราก คล้ายเป็นผนัง/กำแพงประเภทต่าง ๆ
เพื่อเบี่ยงเบนราก หรือป้องกันรากต้นไม้บุกรุกเข้ามา
โดยทั่วไปแล้วจะติดตั้งในแนวตั้งลงในพื้นดิน
โดยมีจุดประสงค์หลักให้รากให้เติบโตลึกลงไปในดิน
หรือเติบโตไปในอีกทางหนึ่งไม่เข้ามาใกล้สิ่งปลูกสร้าง
มักจะทำจากแผ่นเหล็กชุบสังกะสี พลาสติก ผ้าใบ
บางครั้งก็ชุบผ้าใบหรือพลาสติคด้วยสารเคมีกำจัดวัชพืช
มีงานวิจัยที่เผยแพร่เกี่ยวกับอุปกรณ์เหล่านี้ 6 ภาพ
รากจะเบี่ยงออกในแนวตั้ง หรืออยู่ใต้สิ่งกีดขวาง
หรืองอกกลับขึ้นไปที่ผิวดิน (ในดินที่มีการระบายน้ำไม่ดี)
หรืออาจยังคงอยู่ที่ระดับความลึกของดินที่ลึกกว่า
(ในดินที่มีการระบายน้ำดีขึ้น) โดยลึกลงไปได้หลายฟุต
หมายเหตุ
รากที่ระดับผิวดินจะทำลายสิ่งปลูกสร้างได้มากกว่ารากระดับลึก
เช่น รากไทร รากหูกระจง รากมะพร้าว รากต้นตาล รากปาล์ม
แนวคิดชาวบ้าน ต้นไม้มีรากแก้ว รากจะหยั่งลึกลงเหมือนกับเสาเข็ม
ส่วนรากฝอยรากแขนงจะยาวเท่ากับ 1-1.5 ของทางใบ
แต่ต้นไม้ที่ไม่มีรากแก้ว จะมีรากแขนง รากฝอยยาวมาก
เช่น ต้นปาล์มน้ำมัน ต้นมะพร้าว มักยาวกว่า 2-3 เท่าทางใบ
เพื่อพยุงต้นไม่ให้ล้มง่าย ๆ เหมือนการทำคานทำฐานแผ่
❀
© https://bit.ly/3m0VnYc
❀
3
❀
ต้นไม้เหล่านี้ปลูกเมื่อ 6 ปีที่แล้วพร้อมกับที่กั้นราก
ที่เรียกว่า Biobarrier (ดูลูกศร) ด้านล่างของที่กั้นราก
อยู่สูงว่าผิวดิน 12 นิ้ว 30.5 เซนติเมตร
ด้านบนของที่กั้นรากอยู่ที่ผิวดิน
แต่ยังมีความจำเป็นที่ต้องมีการบำรุงรักษาเป็นระยะ ๆ
เพื่อป้องกันไม่ให้รากเติบโตขึ้นเหนือกำแพงกั้น
โดยต้องกำจัดดินและอินทรียวัตถุออกจากด้านบนของที่กั้นราก
(อย่าให้รากงอกข้ามมาได้โดยง่าย ๆ )
❀
4
❀
ต้นไม้เหล่านี้ปลูกเมื่อ 6 ปีที่แล้วโดยไม่มีกั้นราก
ทำให้รากจำนวนมากงอกขึ้นจากโคนลำต้นใต้ผิวดิน
บางรากก็อยู่ลึกลงไปในดิน
❀
5
❀
ต้นไม้เหล่านี้ปลูกเมื่อ 6 ปีที่แล้วโดยมีที่กั้นราก
ให้สังเกตว่า รากจำนวนมากถูกเบี่ยงเบนไปภายใต้ที่กั้นราก
แต่กลับงอกขึ้นสู่ผิวดิน เมื่อไปถึงอีกด้านหนึ่งของที่กั้นราก
ดูได้จากภาพถัดไปภาพที่ 4
❀
6
❀
ภาพถ่ายระยะใกล้ของภาพหมายเลข 3
แสดงให้เห็นว่า รากงอกขึ้นสู่ผิวดินอย่างไร
เมื่อรากงอกไปชนที่กั้นรากอีกด้านหนึ่ง
ที่ฝังลึก 2 ฟุตครึ่ง 76.2 เซนติเมตร
ทางด้านซ้ายมือของภาพที่ แนวกั้นสูง 12 นิ้ว
30.5 เซ็นติเมตร (ลูกศร)
❀
7
❀
รากต้นไม้มีการเจริญเติบโตภายใต้สิ่งกีดขวาง/ที่กั้นราก
รากต้นไม้จากด้านซ้ายมือและขอบบนของภาพ
ประมาณ 3 ฟุต (91.4 เซนติเมตร)
เมื่อที่กั้นรากถูกขุด/ถอดออกไปแล้ว
รากทั้งสามที่มีลูกศรชี้ไปที่กั้นรากนั้น
ต่างเติบโตข้างใต้ดิน แล้วเติบโตขึ้นไปบนผิวดิน
รากอื่น ๆ ส่วนใหญ่ในภาพนี้เติบโตในมุมที่ตื้นกว่า
รูปภาพถัดไปจะแสดงมุมมองทั้งหมดของระบบราก
ระบบน้ำใต้ผิวดินของพื้นดินบริเวณนี้ในระหว่างปี
มีความผันผวนช่วง 12 ถึง 48 นิ้ว (30.5-121.9 เซนติเมตร)
(ผิวดินถ้ามีน้ำฉ่ำ น้ำเยอะ รากแขนงรากฝอย
จะไม่งอกลงไปลึก เพราะแค่ผิวดินก็มีน้ำพอแล้ว)
❀
8
❀
การเปิดหน้าดินให้เป็นคูน้ำกว้าง 4 ฟุต 121.9 เซนติเมตร นี้
ดินถูกขุดขึ้นมาหลังจากปลูกต้นไม้ได้ 6 ปีแล้ว
รากที่ทาสีขาวลึก จะอยู่ภายในที่กั้นราก
แถวหนึ่งจากที่กั้นราก 30 นิ้ว 76.2 เซนติเมตร
ที่ทำเป็นกำแพงสูง 12 นิ้ว 30.5 เซนติเมตร
อยู่หลังกำแพงดินทางด้านขวาของร่องลึก 6 นิ้ว 15.2 เซนติเมตร ราก (ทาสีขาว)
รากจะเติบโตภายใต้สิ่งกีดขวาง
แต่ยังสามารถเห็นการกระจายของราก
ที่ระดับความลึกทั้งหมดทางด้านขวาของร่องลึก (ดูลูกศร)
ที่กั้นรากคือ สิ่งกีดขวางสร้างอุปสรรคให้ต้นไม้
ทำให้ต้องเบี่ยงเบนรากไปยังชั้นดินที่ลึกกว่า
เมื่อเปรียบเทียบกับต้นไม้ที่ไม่มีสิ่งกีดขวาง
ให้สังเกตระยะ 6 ฟุต 182.8 เซนติเมตร
จากที่กั้นราก (ผนังด้านซ้ายของร่องลึก)
รากส่วนใหญ่จะอยู่ในดิน 12 นิ้ว 30.5 เซนติเมตร ด้านบนสุด
9
❀
© https://bit.ly/2XomKkB
❀
10
❀
© https://bit.ly/2XomKkB
❀
เรียบเรียง/ที่มา
https://bit.ly/3g0jKRW
https://bit.ly/2XomKkB
https://bit.ly/3jTDEPQ
https://bit.ly/3yMTYbm
11
❀
© A linear root barrier
❀
12
❀
© A circular root barrier
❀
13
❀
© A three-dimensional root barrier
❀
14
❀
ANTI ROOT
❀
15
❀
16
❀
© https://bit.ly/3AKmRFG
❀
17
❀
© https://bit.ly/2VU9vYa
❀
18
❀
© https://bit.ly/3xL3ZnR
❀
19
❀
© https://bit.ly/2UmzE1w
❀
20
❀
© https://bit.ly/3CNb5My
❀
21
❀
Root barrier installed with mini-trencher
stopping sidewalk lift from tree roots
❀
22
❀
Root barrier installation Anaheim Stadium
❀
23
❀
© https://bit.ly/3CNb5My
❀
24
❀
© https://bit.ly/3CNb5My
❀
25
❀
© https://bit.ly/3xNTLn1
❀
26
❀
© https://bit.ly/3skzTq9
❀
27
❀
© https://amzn.to/2XoqBhz
❀
28
❀
© https://amzn.to/2XoqBhz
❀
29
❀
30
12 ภาพรากต้นไม้ที่มีชัยเหนือคอนกรีต
❀
❀
31
❀
❀
หมายเหตุ
ในเมืองไทยมีการดัดแปลงมาปลูกในที่ควบคุม
เช่น ปลูกมะนาวในปล่องบ่อ
❀
❀
❀
❀
❀
ปลูกต้นไม้ในตะกร้า
ทำให้รากอยู่ในพื้นที่จำกัด การดูแลรักษา ให้ปุ๋ย
ตัดแต่งกิ่ง แต่งทางใบ รานใบได้ง่าย
© เกษตรก้าวไกล
การปลูกไม้ผลในภาชนะ
ข้อดี
1. ปลูกได้ในพื้นที่จำกัด
2. สามารถปลูกได้กับผลไม้หลากหลายชนิด
3. ไม่มีปัญหาเรื่องสภาพดินที่ใช้ปลูก
4. สามารถเคลื่อนย้ายได้ง่าย
5. ควบคุมปริมาณน้ำและธาตุอาหารได้สะดวก
6. ออกดอกเร็วและง่ายกว่าการปลูกลงดิน
7. ขนาดทรงพุ่มเล็กทำให้ดูแลได้สะดวก
ข้อด้อย
1. ให้ผลผลิตต่อต้นน้อย (ถ้าใช้ภาชนะปลูกเล็ก)
2. ต้องมีการเปลี่ยนวัสดุปลูกเป็นระยะ ๆ
3. ต้องให้น้ำและปุ๋ยอย่างสม่ำเสมอ
4. ไม้ผลบางชนิดไม่เหมาะที่จะนำมาปลูก เช่น กล้วย ขนุน ทุเรียน มะพร้าว ขนุน เป็นต้น
5. มีการลงทุนค่อนข้างสูงในระยะแรก
❀
❀
พื้นที่จำกัด ดินไม่ดี...ปลูกไม้ผลในภาชนะดีกว่า ม.เกษตรฯ มีให้ศึกษาแล้ว
❀
❀
❀
❀
❀
❀