คำตอบที่ได้รับเลือกจากเจ้าของกระทู้
ความคิดเห็นที่ 2
ข้อดี-ข้อเสีย งานราชการ (ข้าราชการ) กับ งานเอกชน แบบกว้าง ๆ
งานราชการ
ขอกล่าวถึงเฉพาะ ข้าราชการ เท่านั้น เพราะถือเป็นขั้นสุดแล้วของงานราชการ
(ไม่พูดถึง พนักงานราชการ, ลูกจ้างรัฐ หรือ บุคลากรรัฐประเภทอื่น และข้าราชการตำแหน่งพิเศษ เช่น อัยการ ผู้พิพากษา)
- เงินเดือนแรกบรรจุ (ข้าราชการทั่ว ๆ ไป)
- ข้าราชการประเภททั่วไป (ข้าราชการที่บรรจุด้วยวุฒิต่ำกว่าปริญญา)
- ระดับ ปวช. 9,400 บาท
- ระดับ ปวท., อนุปริญญา หลักสูตร 2 ปี 10,840 บาท
- ระดับ ปวส., อนุปริญญาหลักสูตร 3 ปี 11,500 บาท
- ข้าราชการประเภทวิชาการ (ข้าราชการที่บรรจุด้วยวุฒิปริญญา ตำแหน่งทั่วไป)
- ระดับปริญญาตรี หลักสูตร 4 ปี ช่วงเงินเดือนแรกบรรจุ 15,000 – 16,500 บาท
- ระดับปริญญาโท ช่วงเงินเดือนแรกบรรจุ 17,500 – 19,250 บาท
- ระดับปริญญาเอก ช่วงเงินเดือนแรกบรรจุ 21,000 – 23,100 บาท
- ข้าราชการตำแหน่งเจ้าพนักงานตรวจเรือปฏิบัติการ
- ช่วงเงินเดือนแรกบรรจุ 17,830 – 21,490 บาท
- ข้าราชการตำแหน่งนักเดินเรือปฏิบัติการ
- ช่วงเงินเดือนแรกบรรจุ 16,200 – 21,490 บาท
http://job.ocsc.go.th/images/Job/636481765004917470.pdf
- ข้าราชการตำแหน่งนายสัตวแพทย์ปฏิบัติการ
- ป.ตรี สัตวแพทยศาสตรบัณฑิต หลักสูตรใหม่ 18,020 - 19,830 บาท
- ป.ตรี สัตวแพทยศาสตรบัณฑิต หลักสูตรเก่า 17,500 - 19,250 บาท
- ข้าราชการตำแหน่งนายแพทย์ปฏิบัติการ
- ป.ตรี แพทยศาสตรบัณฑิต 18,020 - 19,830 บาท
- ป.ตรี แพทยศาสตรบัณฑิต + เรียนต่อแพทย์เฉพาะทาง 21,000 - 23,100 บาท
- ป.ตรี แพทยศาสตรบัณฑิต + วุฒิบัตรแสดงความรู้ความชำนาญในการประกอบวิชาชีพเวชกรรมของแพทยสภาที่มีกำหนดระยะเวลาศึกษาอบรมไม่น้อยกว่า 4 - 5 ปี ต่อจากวุฒิ ป.ตรี แพทยศาสตรบัณฑิต 21,610 – 23,780 บาท
- เงินเดือนตัน
ยกตัวอย่างบัญชีเงินเดือนข้าราชการส่วนท้องถิ่น
- ระดับปฏิบัติงาน 25,020
- ระดับชำนาญงาน 40,900
- ระดับอาวุโส 54,090
- ระดับปฏิบัติการ 30,020
- ระดับชำนาญการ 49,480
- ระดับชำนาญการพิเศษ 66,490
- ระดับเชี่ยวชาญ 77,380
- ระดับอำนวยการท้องถิ่น ระดับต้น 50,170
- ระดับอำนวยการท้องถิ่น ระดับกลาง 67,560
- ระดับอำนวยการท้องถิ่น ระดับสูง 78,020
- ระดับบริหารท้องถิ่น ระดับต้น 51,140
- ระดับบริหารท้องถิ่น ระดับกลาง 68,640
- ระดับบริหารท้องถิ่น ระดับสูง 80,450
ทั้งนี้ ข้าราชการสามารถข้ามไปใช้เพดานเงินเดือนของระดับที่สูงกว่าระดับที่ตนครองอยู่ ได้ 1 ระดับ
เช่น เป็นระดับชำนาญการพิเศษ (เพดาน 66,490) แต่สามารถข้ามไปตันที่เพดานของระดับเชี่ยวชาญ (77,380) ได้
- เงินเพิ่มพิเศษ
บางตำแหน่งในทุกส่วนราชการ อาจะจะมีเงินเพิ่มสำหรับตำแหน่งที่มีเหตุพิเศษให้ เช่น
- นิติกร ได้รับ 3,000 - 6,000 บาท/เดือน แล้วแต่ระดับ ตามเงื่อนไขที่กำหนด
- ปลัดอำเภอ ได้รับ 5,000 บาท/เดือน หากได้ปฏิบัติหน้าที่ตามเงื่อนไข
- ผู้ปฏิบัติงานใต้น้ำกรมศิลปากร ได้รับ 8,000 - 10,000 บาท/เดือน ตามการปฏิบัติหน้าที่ คุณสมบัติ และเงื่อนไข
http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2560/E/243/3.PDF
นักการทูต เมื่อออกประจำการอยู่ต่างประเทศ จะได้รับ เงินเพิ่มสำหรับตำแหน่งที่ประจำอยู่ต่างประเทศ (พ.ข.ต.)
http://saraban-law.cgd.go.th/easinetimage/inetdoc?id=show_CGD.A.17936_1_BCS_1_pdf
บางองค์กร บางตำแหน่ง จะมีเงินประจำตำแหน่ง เงินเพิ่มพิเศษ หรือที่เรียกอย่างอื่น ให้
เช่น สำนักงานศาล, สำนักงาน ปปช., กรมสอบสวนคดีพิเศษ, รัฐสภา ฯลฯ
ทำให้รายรับรวมจะมากกว่าข้าราชการธรรมดาครับ เช่น
พนักงานคดีปกครองปฏิบัติการ เงินเดือน 15,000 +
ค่าตอบแทนพิเศษสำหรับตำแหน่ง 7,000 +
เงินส่งเสริมประสิทธิภาพการปฏิบัติราชการที่ดีของข้าราชการฝ่ายศาลปกครอง 8,000
รวม พนักงานคดีปกครองปฏิบัติการ ทำงานครบ 1 ปี รวมรายรับ/เดือน 30,000 บาท
http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2564/A/048/T_0033.PDF
http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2554/A/076/18.PDF
ข้อมูล เปรียบเทียบเงินเพิ่มพิเศษ, เงินประจำตำแหน่งของข้าราชการหรือพนักงานของรัฐ
http://www.vichakankunapab.com/forum/index.php?topic=81.0
ยังไม่นับตำแหน่งพิเศษ ๆ เช่น ผู้พิพากษา ตุลาการ อัยการ
ซึ่งใช้บัญชีเงินเดือนและอัตราเงินประจำตำแหน่งแยกต่างหากจากข้าราชการปกติ ทำให้รายรับรวมสูงกว่า
- สิทธิประโยชน์ สวัสดิการ พื้นฐานของข้าราชการ
- เบิกค่ารักษาพยาบาล 5 คน
พ่อ โดยชอบด้วยกฎหมาย
แม่
ลูก โดยชอบด้วยกฎหมาย 3 คน
คู่สมรส
ตัวเอง
http://www.ocsc.go.th/OCSC/TH/uploads/File/hospital.pdf
- การลา 11 ประเภท
ลาพักผ่อน
ลากิจ
ลาป่วย
ลา...
- ค่าเล่าเรียนบุตรโดยชอบด้วยกฎหมาย 3 คน
http://www.ocsc.go.th/OCSC/TH/uploads/File/child%20edu.pdf
- บำเหน็จบำนาญ
http://www.ocsc.go.th/OCSC/TH/uploads/File/pension.pdf
- สิทธิพิเศษในการกู้เงิน
OT
ฯลฯ
- สหกรณ์และณาปนกิจสงเคราะห์
- เครื่องราชอิสริยาภรณ์
ประสบการณ์
- ขึ้นอยู่กับตำแหน่งและองค์กรครับ
เอาภาพรวม ก็สามารถทำหน้าที่ที่เอกชนไม่สามารถปฏิบัติได้
เช่น การบังคับใช้กฎหมาย การมีส่วนร่วมในการบริการสาธารณะบางอย่าง ฯลฯ
ข้อเสนอแนะ
งานราชการ ถ้าเริ่มตั้งแต่อายุน้อย ๆ ด้วยคุณวุฒิระดับปริญญา ยิ่งมี ป.โท ป.เอก จะยิ่งก้าวหน้าได้ไกล
หากตั้งใจจะทำงานราชการแน่วแน่ ก็ควรเริ่มตั้งแต่อายุน้อยที่สุด ด้วยวุฒิสูงที่สุดเท่าที่จะได้
เพราะเงินเดือนจะขึ้นทุกปี ปีละ 2 ครั้ง ถ้ามีอายุราชการเยอะ ๆ เงินเดือนก็ยิ่งขึ้นได้สูง บำนาญก็จะได้เยอะตาม
หากบรรจุด้วย ป.ตรี และมี ป.โท หรือ ป.เอก ตรงตามตำแหน่ง
จะสามารถนำวุฒิมาปรับรับเงินเดือนตามวุฒิได้ เมื่อบรรจุครบ 1 ปี (ป.โท 17,500 / ป.เอก 21,000)
ข้อดี
- มีความมั่นคงสูงงงงงงงงงง เกินจะหาใดเปรียบ
แม้หน่วยงานยุบเลิก ข้าราชการก็ไม่โดนให้ออก แต่จะได้โอนย้ายไปอยู่หน่วยงานอื่นแทน
แม้เศรษฐกิจไม่ดีปานใด ข้าราชการก็ยังอยู่ได้ไม่ต้องกลัวตกงาน
- ฐานเงินเดือน สวัสดิการเท่ากันทั่วประเทศ
หากเป็นคนต่างจังหวัด ทำงานเอกชนได้เงินเยอะใน กทม. จริง
แต่ถ้าอยากกลับไปอยู่บ้านนอก ก็หาองค์กรเอกชนที่มีรายได้เท่ากับที่ทำใน กทม. ยาก
แต่ถ้าเป็นข้าราชการ หากโอนย้ายได้ ก็โอนไปได้หมดทั้งฐานเงินเดือน สิทธิสวัสดิการ อายุราชการ
- หากคุณสมบัติครบ สามารถเลือกรับบำนาญได้ตลอดชีพ
ซึ่งเป็นข้อดีที่สุด ที่ไม่มีองค์กรเอกชนอื่นให้ได้
ข้อเสีย
- หากไปอยู่ในตำแหน่ง-องค์กร ที่ไม่ค่อยแจ่ม อาจหมดไฟ
- การแข่งขันสูง การบรรจุเข้ารับราชการค่อนข้างยาก มีกระบวนการสอบหลายขั้นตอน
- ภาพลักษณ์ไม่ค่อยดี เศรษฐกิจดีคนก็เหยียด เกิดวิฤติคนก็แขวะ
- เงินเดือนสตาร์ทต่ำ เมื่อเทียบกับงานเอกชนชั้นดี
คิดที่ฐาน ป.ตรี 15,000 ยืนพื้น ต่อให้คุณมีประสบการณ์สูง ได้ภาษาที่ 2 ที่ 3
คุณก็นำมาปรับเงินเดือนสตาร์ท ตามค่าความสามารถ ค่าประสบการณ์ รวมกันแล้วไม่เกิน 16,500
- เพดานเงินเดือน มองผ่าน ๆ จะค่อนข้างสูง แต่ก็ถือว่าน้อย เมื่อเทียบกับเอกชนเกรด A
และกว่าจะได้เงินเดือนใกล้เต็มเพดาน ก็ต้องใช้เวลาหลัก 2X - 3X ปี
- การขึ้นเงินเดือนแต่ละรอบ มีอัตราแน่นอน และน้อย ต่อให้คุณทำผลงานดีเลิศ ก็ได้ไม่ฉีกไปจากอัตราปกติมากนัก
- ไม่สามารถต่อรองเงินเดือน, สิทธิสวัสดิการอื่น ๆ กับนายจ้างได้เลย
- สิทธิสวัสดิการที่ดีที่สุดของข้าราชการ คือ บำนาญ
ถ้าคุณอายุยืน ก็ถือว่าโชคดี แต่มีหลาย ๆ คน ตายก่อนได้รับบำนาญ
- ฯลฯ
------------------------------------
งานเอกชน
- เงินเดือน ไม่แน่นอนแล้วแต่องค์กร ซึ่งมีช่วงแกว่งที่กว้างมาก ๆ
บางแห่งสูงกว่าข้าราชการมาก แต่บางกลับแห่งน้อยกว่าข้าราชการเสียอีก
- เงินเพิ่มพิเศษ
แล้วแต่ตำแหน่งและองค์กร อาจจะมี/ไม่มี ก็ได้
เช่น เงินประจำตำแหน่ง, ค่า Commission, โบนัส, เบี้ยขยัน, ค่าอาวุโส เป็นต้น
- สวัสดิการ
- ประกันสังคมยืนพื้น บางแห่งดีหน่อยมีการทำประกันสุขภาพ/อุบัติเหตุ เพิ่มเติมให้
- สิทธิการลาประเภทต่าง ๆ ยืนพื้นตามกฎหมายแรงงาน หรือดีกว่า
- สิทธิต่าง ๆ ตามกฎหมายแรงงาน เช่น เงินทดแทน, เงินชดเชย ฯลฯ
- บางแห่งมีโบนัส บางแห่งไม่มี
- OT ตามกฎหมายแรงงาน
- สิทธิประโยชน์อื่น ๆ แล้วแต่ตำแหน่ง เช่น รถ, ค่าน้ำมันรถ, ค่าเสื่อมรถ, ค่าเบี้ยเลี้ยง, ค่าที่พัก, ค่าโทรศัพท์ กรณีเป็นพนักงานขาย
- ฯลฯ
ประสบการณ์
- ขึ้นอยู่กับตำแหน่งและองค์กรครับ
เอาภาพรวม เอกชนค่อนข้างใช้งานคุ้ม พนักงานอายุงานน้อย ๆ แต่ได้เงินเดือนเยอะยิ่งใช้คุ้ม
ทำให้มีโอกาสพัฒนาตัวเองได้ดี
ข้อเสนอแนะ
หากจะทำงานเอกชน ควรดูรายได้รวมเปรียบเทียบกับเงินเดือนข้าราชการ
ซึ่งควรจะมากกว่าข้าราชการในระดับคุณวุฒิเดียวกัน ที่อายุงานพอ ๆ กัน อย่างน้อย 1.5 - 2 เท่า ขึ้นไป
เพราะว่าข้าราชการ ถ้ามีคุณสมบัติครบ จะสามารถเลือกรับบำนาญได้จนสิ้นชีวิต
กรณีทำงานเอกชน จึงควรได้รายรับมากกว่าข้าราชการอย่างน้อยๆ 1.5 - 2 เท่าขึ้นไป ดังข้างต้น
เช่น
คน 2 คน เริ่มทำงานอายุ 25 ปี
คนนึงเป็นข้าราชการเงินเดือน 15,000 คนนึงเป็นพนักงานเอกชน เงินเดือน 25,000 (ขอคิดเงินเดือนเท่านี้ตลอดชีพ เพื่อให้ง่าย)
เกษียณที่อายุ 60 เท่ากัน (อายุงาน 35 ปี)
- ข้าราชการ จะได้รับบำนาญประมาณ 10,500 บาท
- พนักงานเอกชน มีเงินเดือนส่วนต่างประมาณ 4,200,000 นำมาแบ่งกินแบ่งใช้ได้เดือนละ 10,000 ใช้ได้ 35 ปี (อายุ 95) เป็นต้น
**คิดให้ดูแบบตรง ๆ คร่าว ๆ ให้พอเห็นภาพนะครับ ไม่ได้คิดถึงเงินเดือนที่จะเพิ่มขึ้น กองทุนสำรองเลี้ยงชีพ ประกันสังคม หรือการนำเงินไปลงทุนอื่น ๆ
เพราะฉะนั้นถ้าทำงานเอกชน หากได้น้อยกว่านี้ก็ควรคิดหนักหน่อย (ยิ่งได้น้อยกว่าหรือเท่ากับข้าราชการ นี่ไม่ต้องสืบเลย)
ปัจจัยเรื่องขนาดและความมั่นคงขององค์กร ก็ควรนำมาพิจารณา
เช่น ระหว่าง อู่ซ่อมรถยนต์เล็ก ๆ แถวบ้าน กับ ศูนย์บำรุงรักษารถยนต์ของแบรนด์รถยนต์ขนาดใหญ่ เป็นต้น
ในเรื่อง สวัสดิการต่าง ๆ เอกชนบางที่ก็ไม่ได้น้อยหน้าข้าราชการเลย เช่น
https://www.chonburipost.com/%E0%B8%AA%E0%B8%A7%E0%B8%B1%E0%B8%AA%E0%B8%94%E0%B8%B4%E0%B8%81%E0%B8%B2%E0%B8%A3-%E0%B8%AD%E0%B8%A1%E0%B8%95%E0%B8%B0%E0%B8%99%E0%B8%84%E0%B8%A3/
http://www.thaitheparos.com/career-inner.php?keysname=benefits
https://www.ajinomoto.co.th/th/jobs#welfare
http://www.daikinthai.com/careers/job-vacancy
http://www.hinomanufacturing.co.th/th/Welfare.aspx
ข้อดี
เนื่องจากเอกชนจะใช้งานบุคลากรคุ้ม จึงทำให้ลูกจ้าง/พนักงานเอกชน ได้รับประสบการณ์ในการทำงานสูง ท้าทาย พัฒนาตนเอง
ในองค์กรที่ได้ค่าตอบแทนสูง ก็มีโอกาสสร้างเนื้อสร้างตัวได้เร็วกว่าข้าราชการ
ข้อเสีย
ความมั่นคงต่ำ แม้จะเป็นองค์กรใหญ่โต ตำแหน่งใหญ่ ๆ ก็มีโอกาสตกงานได้ง่าย ๆ
การปลดพนักงาน/ลูกจ้างเอกชน ออกจากงาน
สามารถทำได้อย่างง่ายดาย เพียงแค่บอกกล่าวล่วงหน้าและจ่ายเงินชดเชยตามกฎหมายแรงงาน เท่านั้น
ลองดูข่าวที่ผ่าน ๆ มา บริษัทใหญ่ ๆ ปลดพนักงานเยอะแยะแบบไม่น่าเชื่อ เช่น
http://prachatai.com/journal/2015/09/61608
https://www.thansettakij.com/2016/07/11/69570
http://ppantip.com/topic/35333035
สถาบันทางการเงินไม่ให้ความเชื่อถือเท่าอาชีพรับราชการ
การจะกู้ได้เท่าข้าราชการ อาจจะต้องมีฐานเงินเดือนสูงที่กว่ามาก และต้องมีอายุงานพอสมควร
สวัสดิการไม่เท่ากันในแต่ละองค์กร หากอยู่องค์กรขนาดเล็ก สวัสดิการอะไร ๆ ก็น้อยตาม
เงินเดือนก็เช่นกัน ไม่มีฐานที่แน่นอน มีช่วงแกว่งกว้างมาก
ส่วนใหญ่องค์กรดี ๆ ก็จะกระจุกตัวอยู่ กทม. และ ปริมณฑล
หากเป็นคนต่างจังหวัด อยากกลับไปทำงานแถวบ้านนอก ก็คงหางานเอกชนเงินเดือนดี มีความมั่นคงสูงได้ยาก
อีกทั้งเกษียณ จะไม่มี
งานราชการ
ขอกล่าวถึงเฉพาะ ข้าราชการ เท่านั้น เพราะถือเป็นขั้นสุดแล้วของงานราชการ
(ไม่พูดถึง พนักงานราชการ, ลูกจ้างรัฐ หรือ บุคลากรรัฐประเภทอื่น และข้าราชการตำแหน่งพิเศษ เช่น อัยการ ผู้พิพากษา)
- เงินเดือนแรกบรรจุ (ข้าราชการทั่ว ๆ ไป)
- ข้าราชการประเภททั่วไป (ข้าราชการที่บรรจุด้วยวุฒิต่ำกว่าปริญญา)
- ระดับ ปวช. 9,400 บาท
- ระดับ ปวท., อนุปริญญา หลักสูตร 2 ปี 10,840 บาท
- ระดับ ปวส., อนุปริญญาหลักสูตร 3 ปี 11,500 บาท
- ข้าราชการประเภทวิชาการ (ข้าราชการที่บรรจุด้วยวุฒิปริญญา ตำแหน่งทั่วไป)
- ระดับปริญญาตรี หลักสูตร 4 ปี ช่วงเงินเดือนแรกบรรจุ 15,000 – 16,500 บาท
- ระดับปริญญาโท ช่วงเงินเดือนแรกบรรจุ 17,500 – 19,250 บาท
- ระดับปริญญาเอก ช่วงเงินเดือนแรกบรรจุ 21,000 – 23,100 บาท
- ข้าราชการตำแหน่งเจ้าพนักงานตรวจเรือปฏิบัติการ
- ช่วงเงินเดือนแรกบรรจุ 17,830 – 21,490 บาท
- ข้าราชการตำแหน่งนักเดินเรือปฏิบัติการ
- ช่วงเงินเดือนแรกบรรจุ 16,200 – 21,490 บาท
http://job.ocsc.go.th/images/Job/636481765004917470.pdf
- ข้าราชการตำแหน่งนายสัตวแพทย์ปฏิบัติการ
- ป.ตรี สัตวแพทยศาสตรบัณฑิต หลักสูตรใหม่ 18,020 - 19,830 บาท
- ป.ตรี สัตวแพทยศาสตรบัณฑิต หลักสูตรเก่า 17,500 - 19,250 บาท
- ข้าราชการตำแหน่งนายแพทย์ปฏิบัติการ
- ป.ตรี แพทยศาสตรบัณฑิต 18,020 - 19,830 บาท
- ป.ตรี แพทยศาสตรบัณฑิต + เรียนต่อแพทย์เฉพาะทาง 21,000 - 23,100 บาท
- ป.ตรี แพทยศาสตรบัณฑิต + วุฒิบัตรแสดงความรู้ความชำนาญในการประกอบวิชาชีพเวชกรรมของแพทยสภาที่มีกำหนดระยะเวลาศึกษาอบรมไม่น้อยกว่า 4 - 5 ปี ต่อจากวุฒิ ป.ตรี แพทยศาสตรบัณฑิต 21,610 – 23,780 บาท
- เงินเดือนตัน
ยกตัวอย่างบัญชีเงินเดือนข้าราชการส่วนท้องถิ่น
- ระดับปฏิบัติงาน 25,020
- ระดับชำนาญงาน 40,900
- ระดับอาวุโส 54,090
- ระดับปฏิบัติการ 30,020
- ระดับชำนาญการ 49,480
- ระดับชำนาญการพิเศษ 66,490
- ระดับเชี่ยวชาญ 77,380
- ระดับอำนวยการท้องถิ่น ระดับต้น 50,170
- ระดับอำนวยการท้องถิ่น ระดับกลาง 67,560
- ระดับอำนวยการท้องถิ่น ระดับสูง 78,020
- ระดับบริหารท้องถิ่น ระดับต้น 51,140
- ระดับบริหารท้องถิ่น ระดับกลาง 68,640
- ระดับบริหารท้องถิ่น ระดับสูง 80,450
ทั้งนี้ ข้าราชการสามารถข้ามไปใช้เพดานเงินเดือนของระดับที่สูงกว่าระดับที่ตนครองอยู่ ได้ 1 ระดับ
เช่น เป็นระดับชำนาญการพิเศษ (เพดาน 66,490) แต่สามารถข้ามไปตันที่เพดานของระดับเชี่ยวชาญ (77,380) ได้
- เงินเพิ่มพิเศษ
บางตำแหน่งในทุกส่วนราชการ อาจะจะมีเงินเพิ่มสำหรับตำแหน่งที่มีเหตุพิเศษให้ เช่น
- นิติกร ได้รับ 3,000 - 6,000 บาท/เดือน แล้วแต่ระดับ ตามเงื่อนไขที่กำหนด
- ปลัดอำเภอ ได้รับ 5,000 บาท/เดือน หากได้ปฏิบัติหน้าที่ตามเงื่อนไข
- ผู้ปฏิบัติงานใต้น้ำกรมศิลปากร ได้รับ 8,000 - 10,000 บาท/เดือน ตามการปฏิบัติหน้าที่ คุณสมบัติ และเงื่อนไข
http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2560/E/243/3.PDF
นักการทูต เมื่อออกประจำการอยู่ต่างประเทศ จะได้รับ เงินเพิ่มสำหรับตำแหน่งที่ประจำอยู่ต่างประเทศ (พ.ข.ต.)
http://saraban-law.cgd.go.th/easinetimage/inetdoc?id=show_CGD.A.17936_1_BCS_1_pdf
บางองค์กร บางตำแหน่ง จะมีเงินประจำตำแหน่ง เงินเพิ่มพิเศษ หรือที่เรียกอย่างอื่น ให้
เช่น สำนักงานศาล, สำนักงาน ปปช., กรมสอบสวนคดีพิเศษ, รัฐสภา ฯลฯ
ทำให้รายรับรวมจะมากกว่าข้าราชการธรรมดาครับ เช่น
พนักงานคดีปกครองปฏิบัติการ เงินเดือน 15,000 +
ค่าตอบแทนพิเศษสำหรับตำแหน่ง 7,000 +
เงินส่งเสริมประสิทธิภาพการปฏิบัติราชการที่ดีของข้าราชการฝ่ายศาลปกครอง 8,000
รวม พนักงานคดีปกครองปฏิบัติการ ทำงานครบ 1 ปี รวมรายรับ/เดือน 30,000 บาท
http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2564/A/048/T_0033.PDF
http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2554/A/076/18.PDF
ข้อมูล เปรียบเทียบเงินเพิ่มพิเศษ, เงินประจำตำแหน่งของข้าราชการหรือพนักงานของรัฐ
http://www.vichakankunapab.com/forum/index.php?topic=81.0
ยังไม่นับตำแหน่งพิเศษ ๆ เช่น ผู้พิพากษา ตุลาการ อัยการ
ซึ่งใช้บัญชีเงินเดือนและอัตราเงินประจำตำแหน่งแยกต่างหากจากข้าราชการปกติ ทำให้รายรับรวมสูงกว่า
- สิทธิประโยชน์ สวัสดิการ พื้นฐานของข้าราชการ
- เบิกค่ารักษาพยาบาล 5 คน
พ่อ โดยชอบด้วยกฎหมาย
แม่
ลูก โดยชอบด้วยกฎหมาย 3 คน
คู่สมรส
ตัวเอง
http://www.ocsc.go.th/OCSC/TH/uploads/File/hospital.pdf
- การลา 11 ประเภท
ลาพักผ่อน
ลากิจ
ลาป่วย
ลา...
- ค่าเล่าเรียนบุตรโดยชอบด้วยกฎหมาย 3 คน
http://www.ocsc.go.th/OCSC/TH/uploads/File/child%20edu.pdf
- บำเหน็จบำนาญ
http://www.ocsc.go.th/OCSC/TH/uploads/File/pension.pdf
- สิทธิพิเศษในการกู้เงิน
OT
ฯลฯ
- สหกรณ์และณาปนกิจสงเคราะห์
- เครื่องราชอิสริยาภรณ์
ประสบการณ์
- ขึ้นอยู่กับตำแหน่งและองค์กรครับ
เอาภาพรวม ก็สามารถทำหน้าที่ที่เอกชนไม่สามารถปฏิบัติได้
เช่น การบังคับใช้กฎหมาย การมีส่วนร่วมในการบริการสาธารณะบางอย่าง ฯลฯ
ข้อเสนอแนะ
งานราชการ ถ้าเริ่มตั้งแต่อายุน้อย ๆ ด้วยคุณวุฒิระดับปริญญา ยิ่งมี ป.โท ป.เอก จะยิ่งก้าวหน้าได้ไกล
หากตั้งใจจะทำงานราชการแน่วแน่ ก็ควรเริ่มตั้งแต่อายุน้อยที่สุด ด้วยวุฒิสูงที่สุดเท่าที่จะได้
เพราะเงินเดือนจะขึ้นทุกปี ปีละ 2 ครั้ง ถ้ามีอายุราชการเยอะ ๆ เงินเดือนก็ยิ่งขึ้นได้สูง บำนาญก็จะได้เยอะตาม
หากบรรจุด้วย ป.ตรี และมี ป.โท หรือ ป.เอก ตรงตามตำแหน่ง
จะสามารถนำวุฒิมาปรับรับเงินเดือนตามวุฒิได้ เมื่อบรรจุครบ 1 ปี (ป.โท 17,500 / ป.เอก 21,000)
ข้อดี
- มีความมั่นคงสูงงงงงงงงงง เกินจะหาใดเปรียบ
แม้หน่วยงานยุบเลิก ข้าราชการก็ไม่โดนให้ออก แต่จะได้โอนย้ายไปอยู่หน่วยงานอื่นแทน
แม้เศรษฐกิจไม่ดีปานใด ข้าราชการก็ยังอยู่ได้ไม่ต้องกลัวตกงาน
- ฐานเงินเดือน สวัสดิการเท่ากันทั่วประเทศ
หากเป็นคนต่างจังหวัด ทำงานเอกชนได้เงินเยอะใน กทม. จริง
แต่ถ้าอยากกลับไปอยู่บ้านนอก ก็หาองค์กรเอกชนที่มีรายได้เท่ากับที่ทำใน กทม. ยาก
แต่ถ้าเป็นข้าราชการ หากโอนย้ายได้ ก็โอนไปได้หมดทั้งฐานเงินเดือน สิทธิสวัสดิการ อายุราชการ
- หากคุณสมบัติครบ สามารถเลือกรับบำนาญได้ตลอดชีพ
ซึ่งเป็นข้อดีที่สุด ที่ไม่มีองค์กรเอกชนอื่นให้ได้
ข้อเสีย
- หากไปอยู่ในตำแหน่ง-องค์กร ที่ไม่ค่อยแจ่ม อาจหมดไฟ
- การแข่งขันสูง การบรรจุเข้ารับราชการค่อนข้างยาก มีกระบวนการสอบหลายขั้นตอน
- ภาพลักษณ์ไม่ค่อยดี เศรษฐกิจดีคนก็เหยียด เกิดวิฤติคนก็แขวะ
- เงินเดือนสตาร์ทต่ำ เมื่อเทียบกับงานเอกชนชั้นดี
คิดที่ฐาน ป.ตรี 15,000 ยืนพื้น ต่อให้คุณมีประสบการณ์สูง ได้ภาษาที่ 2 ที่ 3
คุณก็นำมาปรับเงินเดือนสตาร์ท ตามค่าความสามารถ ค่าประสบการณ์ รวมกันแล้วไม่เกิน 16,500
- เพดานเงินเดือน มองผ่าน ๆ จะค่อนข้างสูง แต่ก็ถือว่าน้อย เมื่อเทียบกับเอกชนเกรด A
และกว่าจะได้เงินเดือนใกล้เต็มเพดาน ก็ต้องใช้เวลาหลัก 2X - 3X ปี
- การขึ้นเงินเดือนแต่ละรอบ มีอัตราแน่นอน และน้อย ต่อให้คุณทำผลงานดีเลิศ ก็ได้ไม่ฉีกไปจากอัตราปกติมากนัก
- ไม่สามารถต่อรองเงินเดือน, สิทธิสวัสดิการอื่น ๆ กับนายจ้างได้เลย
- สิทธิสวัสดิการที่ดีที่สุดของข้าราชการ คือ บำนาญ
ถ้าคุณอายุยืน ก็ถือว่าโชคดี แต่มีหลาย ๆ คน ตายก่อนได้รับบำนาญ
- ฯลฯ
------------------------------------
งานเอกชน
- เงินเดือน ไม่แน่นอนแล้วแต่องค์กร ซึ่งมีช่วงแกว่งที่กว้างมาก ๆ
บางแห่งสูงกว่าข้าราชการมาก แต่บางกลับแห่งน้อยกว่าข้าราชการเสียอีก
- เงินเพิ่มพิเศษ
แล้วแต่ตำแหน่งและองค์กร อาจจะมี/ไม่มี ก็ได้
เช่น เงินประจำตำแหน่ง, ค่า Commission, โบนัส, เบี้ยขยัน, ค่าอาวุโส เป็นต้น
- สวัสดิการ
- ประกันสังคมยืนพื้น บางแห่งดีหน่อยมีการทำประกันสุขภาพ/อุบัติเหตุ เพิ่มเติมให้
- สิทธิการลาประเภทต่าง ๆ ยืนพื้นตามกฎหมายแรงงาน หรือดีกว่า
- สิทธิต่าง ๆ ตามกฎหมายแรงงาน เช่น เงินทดแทน, เงินชดเชย ฯลฯ
- บางแห่งมีโบนัส บางแห่งไม่มี
- OT ตามกฎหมายแรงงาน
- สิทธิประโยชน์อื่น ๆ แล้วแต่ตำแหน่ง เช่น รถ, ค่าน้ำมันรถ, ค่าเสื่อมรถ, ค่าเบี้ยเลี้ยง, ค่าที่พัก, ค่าโทรศัพท์ กรณีเป็นพนักงานขาย
- ฯลฯ
ประสบการณ์
- ขึ้นอยู่กับตำแหน่งและองค์กรครับ
เอาภาพรวม เอกชนค่อนข้างใช้งานคุ้ม พนักงานอายุงานน้อย ๆ แต่ได้เงินเดือนเยอะยิ่งใช้คุ้ม
ทำให้มีโอกาสพัฒนาตัวเองได้ดี
ข้อเสนอแนะ
หากจะทำงานเอกชน ควรดูรายได้รวมเปรียบเทียบกับเงินเดือนข้าราชการ
ซึ่งควรจะมากกว่าข้าราชการในระดับคุณวุฒิเดียวกัน ที่อายุงานพอ ๆ กัน อย่างน้อย 1.5 - 2 เท่า ขึ้นไป
เพราะว่าข้าราชการ ถ้ามีคุณสมบัติครบ จะสามารถเลือกรับบำนาญได้จนสิ้นชีวิต
กรณีทำงานเอกชน จึงควรได้รายรับมากกว่าข้าราชการอย่างน้อยๆ 1.5 - 2 เท่าขึ้นไป ดังข้างต้น
เช่น
คน 2 คน เริ่มทำงานอายุ 25 ปี
คนนึงเป็นข้าราชการเงินเดือน 15,000 คนนึงเป็นพนักงานเอกชน เงินเดือน 25,000 (ขอคิดเงินเดือนเท่านี้ตลอดชีพ เพื่อให้ง่าย)
เกษียณที่อายุ 60 เท่ากัน (อายุงาน 35 ปี)
- ข้าราชการ จะได้รับบำนาญประมาณ 10,500 บาท
- พนักงานเอกชน มีเงินเดือนส่วนต่างประมาณ 4,200,000 นำมาแบ่งกินแบ่งใช้ได้เดือนละ 10,000 ใช้ได้ 35 ปี (อายุ 95) เป็นต้น
**คิดให้ดูแบบตรง ๆ คร่าว ๆ ให้พอเห็นภาพนะครับ ไม่ได้คิดถึงเงินเดือนที่จะเพิ่มขึ้น กองทุนสำรองเลี้ยงชีพ ประกันสังคม หรือการนำเงินไปลงทุนอื่น ๆ
เพราะฉะนั้นถ้าทำงานเอกชน หากได้น้อยกว่านี้ก็ควรคิดหนักหน่อย (ยิ่งได้น้อยกว่าหรือเท่ากับข้าราชการ นี่ไม่ต้องสืบเลย)
ปัจจัยเรื่องขนาดและความมั่นคงขององค์กร ก็ควรนำมาพิจารณา
เช่น ระหว่าง อู่ซ่อมรถยนต์เล็ก ๆ แถวบ้าน กับ ศูนย์บำรุงรักษารถยนต์ของแบรนด์รถยนต์ขนาดใหญ่ เป็นต้น
ในเรื่อง สวัสดิการต่าง ๆ เอกชนบางที่ก็ไม่ได้น้อยหน้าข้าราชการเลย เช่น
https://www.chonburipost.com/%E0%B8%AA%E0%B8%A7%E0%B8%B1%E0%B8%AA%E0%B8%94%E0%B8%B4%E0%B8%81%E0%B8%B2%E0%B8%A3-%E0%B8%AD%E0%B8%A1%E0%B8%95%E0%B8%B0%E0%B8%99%E0%B8%84%E0%B8%A3/
http://www.thaitheparos.com/career-inner.php?keysname=benefits
https://www.ajinomoto.co.th/th/jobs#welfare
http://www.daikinthai.com/careers/job-vacancy
http://www.hinomanufacturing.co.th/th/Welfare.aspx
ข้อดี
เนื่องจากเอกชนจะใช้งานบุคลากรคุ้ม จึงทำให้ลูกจ้าง/พนักงานเอกชน ได้รับประสบการณ์ในการทำงานสูง ท้าทาย พัฒนาตนเอง
ในองค์กรที่ได้ค่าตอบแทนสูง ก็มีโอกาสสร้างเนื้อสร้างตัวได้เร็วกว่าข้าราชการ
ข้อเสีย
ความมั่นคงต่ำ แม้จะเป็นองค์กรใหญ่โต ตำแหน่งใหญ่ ๆ ก็มีโอกาสตกงานได้ง่าย ๆ
การปลดพนักงาน/ลูกจ้างเอกชน ออกจากงาน
สามารถทำได้อย่างง่ายดาย เพียงแค่บอกกล่าวล่วงหน้าและจ่ายเงินชดเชยตามกฎหมายแรงงาน เท่านั้น
ลองดูข่าวที่ผ่าน ๆ มา บริษัทใหญ่ ๆ ปลดพนักงานเยอะแยะแบบไม่น่าเชื่อ เช่น
http://prachatai.com/journal/2015/09/61608
https://www.thansettakij.com/2016/07/11/69570
http://ppantip.com/topic/35333035
สถาบันทางการเงินไม่ให้ความเชื่อถือเท่าอาชีพรับราชการ
การจะกู้ได้เท่าข้าราชการ อาจจะต้องมีฐานเงินเดือนสูงที่กว่ามาก และต้องมีอายุงานพอสมควร
สวัสดิการไม่เท่ากันในแต่ละองค์กร หากอยู่องค์กรขนาดเล็ก สวัสดิการอะไร ๆ ก็น้อยตาม
เงินเดือนก็เช่นกัน ไม่มีฐานที่แน่นอน มีช่วงแกว่งกว้างมาก
ส่วนใหญ่องค์กรดี ๆ ก็จะกระจุกตัวอยู่ กทม. และ ปริมณฑล
หากเป็นคนต่างจังหวัด อยากกลับไปทำงานแถวบ้านนอก ก็คงหางานเอกชนเงินเดือนดี มีความมั่นคงสูงได้ยาก
อีกทั้งเกษียณ จะไม่มี
แสดงความคิดเห็น
งาน เอกชน VS ราชการ ต่างกันอย่างไร!!??