พุทธบริษัท 4 ประกอบไปด้วย ภิกษุ ภิกษุณี อุบาสก อุบาสิกา เหล่านี้เป็นผู้ที่ดำรงไว้ซึ่งพระพุทธศาสนา
๑. ศึกษาพระธรรมให้เข้าใจจริง ๆ
๒. นำไปประพฤติปฏิบัติ (ประโยชน์ตน)
๓. มีส่วนช่วยเผยแพร่เกื้อกูลให้บุคคลอื่นเข้าใจและนำไปประพฤติปฏิบัติ (ประโยชน์ท่าน)
๔. สามารถปกป้อง เมื่อมีผู้กล่าวให้คลาดเคลื่อน หรือกล่าวจ้วงจาบพระธรรมวินัย
ดังพระผู้มีพระภาคเจ้าตรัสกับพระยามารว่า “ดูก่อนมารผู้มีบาป ภิกษุ ภิกษุณี อุบาสก อุบาสิกา ผู้เป็นสาวก สาวิกา ของตถาคตยังไม่ฉลาด ไม่ได้รับแนะนำ ยังไม่แกล้วกล้า ไม่เป็นพหูสูต ไม่ทรงธรรม ไม่ปฏิบัติธรรมสมควรแก่ธรรมไม่ปฏิบัติชอบ ไม่ประพฤติตามธรรม เรียนกับอาจารย์ของตน จักบอกจักแสดง จักบัญญัติ จักแต่งตั้ง จักเปิดเผย จักจำแนก จักทำให้ตื้น จักแสดงธรรมมี ปาฏิหาริย์ ข่มขี่ปรับปวาท
**อะไรหนอเป็นเหตุเป็นปัจจัยที่ทำให้พระสัทธรรมไม่ตั้งอยู่ยั่งยืน เมื่อพระตถาคตเจ้าปรินิพพานแล้ว”
ดูกรกิมพิละ เมื่อตถาคตปรินิพพานแล้ว พวกภิกษุ ภิกษุณี อุบาสก อุบาสิกา ในธรรมวินัยนี้เป็นผู้ไม่มีความเคารพ ไม่มีความยำเกรงในศาสดา เป็นผู้ไม่มีความเคารพ ไม่มีความยำเกรงในธรรม เป็นผู้ไม่มีความเคารพ ไม่มีความยำเกรงในสงฆ์ เป็นผู้ไม่มีความเคารพ ไม่มีความยำเกรงในสิกขา เป็นผู้ไม่มีความเคารพ ไม่มีความยำเกรงกันและกัน ดูกรกิมพิละ นี้แลเป็นเหตุเป็นปัจจัยเครื่องให้พระสัทธรรมไม่ดำรงอยู่นาน ในเมื่อตถาคตปรินิพพานแล้ว ฯ”
จิตสำนึก
๑. ศึกษาพระธรรมให้เข้าใจจริง ๆ
๒. นำไปประพฤติปฏิบัติ (ประโยชน์ตน)
๓. มีส่วนช่วยเผยแพร่เกื้อกูลให้บุคคลอื่นเข้าใจและนำไปประพฤติปฏิบัติ (ประโยชน์ท่าน)
๔. สามารถปกป้อง เมื่อมีผู้กล่าวให้คลาดเคลื่อน หรือกล่าวจ้วงจาบพระธรรมวินัย
ดังพระผู้มีพระภาคเจ้าตรัสกับพระยามารว่า “ดูก่อนมารผู้มีบาป ภิกษุ ภิกษุณี อุบาสก อุบาสิกา ผู้เป็นสาวก สาวิกา ของตถาคตยังไม่ฉลาด ไม่ได้รับแนะนำ ยังไม่แกล้วกล้า ไม่เป็นพหูสูต ไม่ทรงธรรม ไม่ปฏิบัติธรรมสมควรแก่ธรรมไม่ปฏิบัติชอบ ไม่ประพฤติตามธรรม เรียนกับอาจารย์ของตน จักบอกจักแสดง จักบัญญัติ จักแต่งตั้ง จักเปิดเผย จักจำแนก จักทำให้ตื้น จักแสดงธรรมมี ปาฏิหาริย์ ข่มขี่ปรับปวาท
**อะไรหนอเป็นเหตุเป็นปัจจัยที่ทำให้พระสัทธรรมไม่ตั้งอยู่ยั่งยืน เมื่อพระตถาคตเจ้าปรินิพพานแล้ว”
ดูกรกิมพิละ เมื่อตถาคตปรินิพพานแล้ว พวกภิกษุ ภิกษุณี อุบาสก อุบาสิกา ในธรรมวินัยนี้เป็นผู้ไม่มีความเคารพ ไม่มีความยำเกรงในศาสดา เป็นผู้ไม่มีความเคารพ ไม่มีความยำเกรงในธรรม เป็นผู้ไม่มีความเคารพ ไม่มีความยำเกรงในสงฆ์ เป็นผู้ไม่มีความเคารพ ไม่มีความยำเกรงในสิกขา เป็นผู้ไม่มีความเคารพ ไม่มีความยำเกรงกันและกัน ดูกรกิมพิละ นี้แลเป็นเหตุเป็นปัจจัยเครื่องให้พระสัทธรรมไม่ดำรงอยู่นาน ในเมื่อตถาคตปรินิพพานแล้ว ฯ”