« بسم الله الرحمن الرحيم »
قُلْ إِن كُنتُمْ تُحِبُّونَ اللّهَ فَاتَّبِعُونِي يُحْبِبْكُمُ اللّهُ وَيَغْفِرْ لَكُمْ ذُنُوبَكُمْ وَاللّهُ غَفُورٌ رَّحِيمٌ (آل عمران/31)
“จงกล่าวเถิด (มุฮัมมัด) ว่า พวกเขาหากพวกท่านรักอัลลอฮ์ ก็จงปฏิบัติตามฉัน อัลลอฮ์ก็จะทรงรักพวกท่าน
และจะทรงอภัยให้แก่พวกท่านซึ่งโทษทั้งหลายของพวกท่าน และอัลลอฮ์นั้นเป็นผู้ทรงอภัยโทษ ผู้ทรงเมตตาเสมอ”
ในช่วงวันเวลาอันประเสริฐนี้
ขอนำเสนอข้อมูล และหลักฐานเกี่ยวกับเรื่องการสัมผัสหินดำ เพื่อบริสุทธิ์ปราศจาคข้อกล่าวหาของผู้ที่ไม่เข้าใจหรือต้องการให้ร้ายศาสนาและผู้ต้องการศึกษา การสัมผัสหินดำนั้น เป็นส่วนหนึ่งจากหลายๆส่วนของขั้นตอนการประกอบพิธีฮัจย์
ซึ่งจะเริ่มทำกันในวันที่ 10 ซุลฮิจยะห์ ลากยาวมาตั้งแต่วันที่ 1 ซุลฮิจยะห์
ท่านรอซูลุลลอฮฺﷺกล่าวว่า :
أفضلُ أيامِ الدنيا أيامُ العشْرِ.
“วันที่ประเสริฐที่สุดในดุนยา(โลกนี้) คือ สิบวันในเดือนซุลฮิจญะฮฺ”
** มาดูเนื้อหารายงาน บทที่ 959 กัน **
Ibn Ubaid bin Umair narrated from his father:
"Ibn Umar was clinging on the two corners (in a manner that I had not seen any of the Companions of the Prophet doing) so I said: 'O Abu Abdur Rahman! You are clinging on the two corners in a manner that I have not seen any of the Companions of the Prophet clining.'
So he said: 'I do it because I heard the Messenger of Allah saying: "Touching them atones for sins." And I heard him saying: "Whoever performs Tawaf around this House seven times and he keeps track of it, then it is as if he freed a slave." And I heard him saying: "One foot is not put down, nor another raised except that Allah removes a sin from him and records a good merit for him."
[Spoil] คลิกเพื่อดูข้อความที่ซ่อนไว้Ibn Ubaid bin Umair narrated from his father:
"Ibn Umar was clinging on the two corners (in a manner that I had not seen any of the Companions of the Prophet doing) so I said: 'O Abu Abdur Rahman! You are clinging on the two corners in a manner that I have not seen any of the Companions of the Prophet clining.'
So he said: 'I do it because I heard the Messenger of Allah saying: "Touching them atones for sins." And I heard him saying: "Whoever performs Tawaf around this House seven times and he keeps track of it, then it is as if he freed a slave." And I heard him saying: "One foot is not put down, nor another raised except that Allah removes a sin from him and records a good merit for him."
حَدَّثَنَا قُتَيْبَةُ، حَدَّثَنَا جَرِيرٌ، عَنْ عَطَاءِ بْنِ السَّائِبِ، عَنِ ابْنِ عُبَيْدِ بْنِ عُمَيْرٍ، عَنْ أَبِيهِ، أَنَّ ابْنَ عُمَرَ، كَانَ يُزَاحِمُ عَلَى الرُّكْنَيْنِ زِحَامًا مَا رَأَيْتُ أَحَدًا مِنْ أَصْحَابِ النَّبِيِّ صلى الله عليه وسلم يَفْعَلُهُ . فَقُلْتُ يَا أَبَا عَبْدِ الرَّحْمَنِ إِنَّكَ تُزَاحِمُ عَلَى الرُّكْنَيْنِ زِحَامًا مَا رَأَيْتُ أَحَدًا مِنْ أَصْحَابِ النَّبِيِّ صلى الله عليه وسلم يُزَاحِمُ عَلَيْهِ .
فَقَالَ إِنْ أَفْعَلْ فَإِنِّي سَمِعْتُ رَسُولَ اللَّهِ صلى الله عليه وسلم يَقُولُ " إِنَّ مَسْحَهُمَا كَفَّارَةٌ لِلْخَطَايَا " . وَسَمِعْتُهُ يَقُولُ " مَنْ طَافَ بِهَذَا الْبَيْتِ أُسْبُوعًا فَأَحْصَاهُ كَانَ كَعِتْقِ رَقَبَةٍ " . وَسَمِعْتُهُ يَقُولُ " لاَ يَضَعُ قَدَمًا وَلاَ يَرْفَعُ أُخْرَى إِلاَّ حَطَّ اللَّهُ عَنْهُ بِهَا خَطِيئَةً وَكَتَبَ لَهُ بِهَا حَسَنَةً " . قَالَ أَبُو عِيسَى وَرَوَى حَمَّادُ بْنُ زَيْدٍ عَنْ عَطَاءِ بْنِ السَّائِبِ عَنِ ابْنِ عُبَيْدِ بْنِ عُمَيْرٍ عَنِ ابْنِ عُمَرَ نَحْوَهُ . وَلَمْ يَذْكُرْ فِيهِ عَنْ أَبِيهِ . قَالَ أَبُو عِيسَى هَذَا حَدِيثٌ حَسَنٌ .
Grade:
Hasan (Darussalam)
Reference
: Jami` at-Tirmidhi 959
In-book reference
: Book 9, Hadith 153
English translation
: Vol. 2, Book 4, Hadith 959
ส่วนที่ 1 คือ เหตุการณ์ที่กำลังดำเนินอยู่(การทำฮัจย์)
ในส่วนที่ 2 คือ ภาคผลบุญที่จะได้รับ
ในเรื่องเดียวกันนี้(การทำฮัจย์) ** ย้ำ ในเรื่องเดียวกันนี้ **
ท่านนบี(ซ.ล.)ได้กล่าวถึงผลบุญไว้ถึง 3 อย่างด้วยกัน
1. สัมผัสมุมทั้งสอง > อภัยบาป
2. ทำครบหนึ่งสัปดาห์ > บันทึกบุญ เหมือนกับการปล่อยทาสเป็นไท
3. ก้าวท้าวเดิน(ตอวาฟรอบ) > ลดบาป เพิ่มผลบุญ
สรุป
เรื่องนี้ กำลังพูดถึงภาพรวม(*ภาพรวม*) ของการประกอบพิธีฮัจย์อยู่
และมันก็ไม่ได้มีแค่บทนี้บทเดียว ที่กล่าวถึงผลบุญของการปฏิบัติอย่างอื่นในพิธีฮัจย์
การกระทำดังกล่าวนี้
เป็นส่วนหนึ่ง ของการแสดงสัญลักษณ์หนึ่ง จากอีกหลายๆสัญลักษณ์ของอัลลอฮ์
ข้อมูลประกอบ
الحكمة في تقبيل الحجر الأسود
أن الحكمة في تقبيل الحجر الأسود هو القيام بشعائر الله عز وجل في الأرض وليس لتعظيم الحجر فالحرج الأسود مثله مثل جميع الأحجار لا تنفع ولاتضر، ولكن تكمن قيمته الحقيقه في تعظيم شعائر الله عز وجل،
( وَمَنْ يُعَظِّمْ شَعائِرَ اللهِ ) ส่วนประกอบต่างๆของพิธีฮัจย์ ก็เป็นการแสดงสัญลักษณ์ของพระองค์
وهي ما حمله أعلاما لخلقه فيما تعبدهم به من مناسك حجهم,
*************************
( ประวัติ ซอฟา-มัรวะห์ ) ก็เป็นส่วนหนึ่งของสัญลักษณ์ของพระองค์
إِنَّ الصَّفَا وَالْمَرْوَةَ مِن شَعَائِرِ اللَّهِ ۖ فَمَنْ حَجَّ الْبَيْتَ أَوِ اعْتَمَرَ فَلَا جُنَاحَ عَلَيْهِ أَن يَطَّوَّفَ بِهِمَا ۚ وَمَن تَطَوَّعَ خَيْرًا فَإِنَّ اللَّهَ شَاكِرٌ عَلِيمٌ (158)
*************************
فِيهِ آيَاتٌ بَيِّنَاتٌ مَّقَامُ إِبْرَاهِيمَ ۖ ( มะกอมอิบรอฮีม ) ก็เป็นส่วนหนึ่งของสัญลักษณ์ของพระองค์
مواضع المناسك كلها، فيكون على هذا جميع أجزاء الحج / " أَيْ فَمِنْهُنَّ مَقَام إِبْرَاهِيم وَالْمَشَاعِر
*************************
ประวัติ ย้ายมุมหินดำ + การละหมาดที่มะกอมุ อิบรอฮีม
*************************
ป.ล.ข้อความดังกล่าวเป็นข้อความของพี่น้องมุสลิมท่านนึงซึ่งผมได้นำมาเผยแผ่(ขออัลลอฮฺตอบแทนความดีแก่ท่านพี่น้องด้วยเถิด)
หินดำกับศาสนาอิสลาม