ร้านค้าที่เสียภาษีมูลค่าเพิ่มอยู่แล้ว ไม่ควรพลาด เข้าร่วมร้านค้ายิ่งใช้ยิ่งได้ ถ้ายังไม่คุ้นกับโครงการยิ่งใช้ยิ่งได้ มาดูสรุปกันก่อน
ร้านที่เข้าร่วมได้ คือ ร้านที่เสียภาษีมูลค่าเพิ่ม ดังนั้นหากร้านของคุณอยู่ในระบบภาษีอยู่แล้ว ก็เป็นอีกช่องทางที่น่าสนใจ ในการเพิ่มยอดขาย จากกลุ่มคนรายได้ปานกลาง - สูง ที่ยังมีกำลังซื้ออยู่ ซึ่งอาจใช้จ่ายเต็มวงเงิน คือ 60,000 บาท ต่อคน เพื่อที่จะได้ e-voucher คืนกลับมา 7,000 บาท
ร้านค้า สามารถเป็นร้านขายสินค้าในหมวดร้านอาหารเครื่องดื่ม ร้านสะดวกซื้อ ห้างสรรพสินค้า ร้านนวดสปา ทำเล็บ ทำผมและสินค้าทั่วไปอื่นๆ
สินค้าที่ไม่รวม คือ สินค้าที่เป็น
- เครื่องดื่มแอลกอฮอล์
- ยาสูบ
- น้ำมันหรือก๊าซสำหรับเติมยานพาหนะ
- บัตรกำนัลที่เป็น Gift Voucher
- บัตร เงินสด cash card Gift Card
หรือ การซื้อหรือสินค้าหรือบริการล่วงหน้าโดย ที่ยังไม่ได้รับบริการหรือสินค้า
ช่วงเวลาสะสมยอดใช้จ่าย เพื่อรับ e-voucher ของประชาชน คือ 1 ก.ค. - 30 ก.ย. 64
ช่วงเวลาการใช้ e-voucher ของประชาชนที่ได้รับมา คือ ตั้งแต่ 7 ส.ค. - 31 ธ.ค. 64
ร้านค้ารายใหญ่ๆ เข้าร่วมกันเยอะแล้ว อย่าปล่อยยอดขายให้เข้าแต่รายใหญ่นะค้า ร้านอื่นๆ ก็เข้าร่วมได้ เพียงไปลงทะเบียนร้านค้ายิ่งใช้ยิ่งได้
ที่ธนาคารกรุงไทย สิ่งที่ต้องเตรียม คือ หนังสือรับรองเลขที่ผู้เสียภาษี และ สมุดบัญชีธนาคารกรุงไทยของร้านค้า ถ้ายังไม่มีต้องไปเปิดบัญชีก่อนเลย
หลังจากนั้นก็ลงทะเบียนแอปถุงเงิน ซึ่งเป็นเหมือนเครื่องมือในการรับเงินของร้านค้า
ร้านค้าที่เคยร่วมในเราเที่ยวด้วยกันต้องสมัครร้านค้าใหม่นะคะ แต่เวลาทำขั้นตอนถุงเงินจะง่ายกว่า เพราะเคยมีข้อมูลอยู่บ้างแล้ว
ตัวอย่างร้านค่ายิ่งใช้ยิ่งได้ อาทิ
ร้านค้าเพียงต้องปรับตัวจากการรับเงินสด หรือบัตรเครดิต มาเป็นรับเงินจากการสแกน QR จากแอปเป๋าตังของประชาชน ด้วยแอปถุงเงินในมือถือของร้านค้า เงินจะเข้าบัญชีร้าน สามารถดูยอดขาย ได้จากมือถือเลย
ระยะเวลาเงินเข้า มี 2 รูปแบบ คือเงินที่ประชาชนใช้จ่ายเอง (ช่วงแรก) และเงินที่ใช้จากส่วน e-voucher (ช่วงหลัง)
ถ้านสนใจในรายละเอียด สามารถชมได้ในคลิปเพิ่มเติมค่า
ร้านค้ายิ่งใช้ยิ่งได้ อีกหนทางเพิ่มยอดขายกับโครงการกระตุ้นการใช้จ่ายของรัฐ
ร้านที่เข้าร่วมได้ คือ ร้านที่เสียภาษีมูลค่าเพิ่ม ดังนั้นหากร้านของคุณอยู่ในระบบภาษีอยู่แล้ว ก็เป็นอีกช่องทางที่น่าสนใจ ในการเพิ่มยอดขาย จากกลุ่มคนรายได้ปานกลาง - สูง ที่ยังมีกำลังซื้ออยู่ ซึ่งอาจใช้จ่ายเต็มวงเงิน คือ 60,000 บาท ต่อคน เพื่อที่จะได้ e-voucher คืนกลับมา 7,000 บาท
ร้านค้า สามารถเป็นร้านขายสินค้าในหมวดร้านอาหารเครื่องดื่ม ร้านสะดวกซื้อ ห้างสรรพสินค้า ร้านนวดสปา ทำเล็บ ทำผมและสินค้าทั่วไปอื่นๆ
สินค้าที่ไม่รวม คือ สินค้าที่เป็น
- เครื่องดื่มแอลกอฮอล์
- ยาสูบ
- น้ำมันหรือก๊าซสำหรับเติมยานพาหนะ
- บัตรกำนัลที่เป็น Gift Voucher
- บัตร เงินสด cash card Gift Card
หรือ การซื้อหรือสินค้าหรือบริการล่วงหน้าโดย ที่ยังไม่ได้รับบริการหรือสินค้า
ช่วงเวลาสะสมยอดใช้จ่าย เพื่อรับ e-voucher ของประชาชน คือ 1 ก.ค. - 30 ก.ย. 64
ช่วงเวลาการใช้ e-voucher ของประชาชนที่ได้รับมา คือ ตั้งแต่ 7 ส.ค. - 31 ธ.ค. 64
ร้านค้ารายใหญ่ๆ เข้าร่วมกันเยอะแล้ว อย่าปล่อยยอดขายให้เข้าแต่รายใหญ่นะค้า ร้านอื่นๆ ก็เข้าร่วมได้ เพียงไปลงทะเบียนร้านค้ายิ่งใช้ยิ่งได้
ที่ธนาคารกรุงไทย สิ่งที่ต้องเตรียม คือ หนังสือรับรองเลขที่ผู้เสียภาษี และ สมุดบัญชีธนาคารกรุงไทยของร้านค้า ถ้ายังไม่มีต้องไปเปิดบัญชีก่อนเลย
หลังจากนั้นก็ลงทะเบียนแอปถุงเงิน ซึ่งเป็นเหมือนเครื่องมือในการรับเงินของร้านค้า
ร้านค้าที่เคยร่วมในเราเที่ยวด้วยกันต้องสมัครร้านค้าใหม่นะคะ แต่เวลาทำขั้นตอนถุงเงินจะง่ายกว่า เพราะเคยมีข้อมูลอยู่บ้างแล้ว
ตัวอย่างร้านค่ายิ่งใช้ยิ่งได้ อาทิ
ร้านค้าเพียงต้องปรับตัวจากการรับเงินสด หรือบัตรเครดิต มาเป็นรับเงินจากการสแกน QR จากแอปเป๋าตังของประชาชน ด้วยแอปถุงเงินในมือถือของร้านค้า เงินจะเข้าบัญชีร้าน สามารถดูยอดขาย ได้จากมือถือเลย
ระยะเวลาเงินเข้า มี 2 รูปแบบ คือเงินที่ประชาชนใช้จ่ายเอง (ช่วงแรก) และเงินที่ใช้จากส่วน e-voucher (ช่วงหลัง)
ถ้านสนใจในรายละเอียด สามารถชมได้ในคลิปเพิ่มเติมค่า