# ไม่อยากให้เป็นกระทู้การเมืองนะคะ อยากให้เป็นกระทู้สนทนาแลกเปลี่ยนความคิดเห็นกันมากกว่า #
คือ ส่วนตัวเรารู้สึกอึดอัดกับการแก้ปัญหาการแพร่ระบาดของโรคโควิด 19 มากค่ะ (จะไม่ขอโทษใครฝ่ายใดฝ่ายหนึ่ง ) เราก็เป็นคนธรรมดา ๆ คนนึง ไม่ค่อยรู้เรืองการทำงานของ สาธารณสุขเท่าไหร่หรอกนะ ตามความเข้าใจของเรา ก็ขอแบ่งการทำงานของระบบสาธารณสุขไทยเป็น 2 แบบแล้วกัน
1. พวกหมอวางนโยบาย ก็คือพวกหมอ ศบค. , พวกหมอกระทรวงที่อยู่ตามหน่วยงานต่าง ๆ ยกตัวอย่างที่รู้จักเห็นหน้าประจำ ก็อธิบดีกรมควบคุมโรค
ฯลฯ
2. พวกหมอปฏิบัติ ก็คือบุคลากรทางการแพทย์ที่ทำงานตาม รพ.ต่าง ๆ อยู่หน้างาานกันจริง ๆ รักษาคนไข้จริง ๆ ไม่ว่าจะตำแหน่งอะไรกันก็ตามแต่
ที่นี่ที่เราสงสัยมากคือ ในวันนี้ / สองวันมานี้ หมอปฏิบัติก็ออกมาบอกว่าเตียงไม่มี เตียงไม่พอ วิกฤตหนัก ต้องเลือกจิ้มคนไข้แล้ว ใครจะอยู่ใครจะไป จะลดวันอยู่ รพ.จาก 14 วันเป็น 10 วันแล้ว และก็แนะนำอะไรหลาย ๆ อย่าง
ที่สงสัยคือ หมอวางนโยบายเนี่ย ต้องฟังหมอปฏิบัติมั๊ย ?? หรือไม่ต้องฟัง ใครมีหน้าที่ปฏิบัติก็ปฏิบัติไป ใครมีหน้าที่วางนโยบายก็วางนโยบายไป อะไรแบบนั้นหรือ อย่างหมอปฏิบัติบอกว่าควรล๊อคดาวน์กทม. หมอนโยบายบอกไม่ต้องไม่จำเป็น บลา ๆๆๆ คือรู้สึกมันย้อนแย้งมาก กับยอดคนป่วยที่วันละ 2-3 พันคนต่อวัน ไม่เคยต่ำกว่านี้มาเป็นเดือน ๆ แล้ว และยอดคนตาย 30-40-50 คน ไม่เคยต่ำกว่านี้เป็นเดือน ๆ แล้วเหมือนกัน แต่ดูเหมือนพวกหมอนโยบายเนี่ย เฉยกันมาก ไม่สะทกสะท้านสะเทือน ไม่มีมาตรการอะไรในเชิงรุกที่จะช่วยให้สถานการณ์มันดีขึ้น และยิ่งบ้าเข้าไปใหญ่กับนโยบายอย่างเปิดประเทศ หรือผ่อนคลายมาตรการต่าง ๆ ของผู้นำหรือนักการเมือง
คือ....ไม่เข้าใจ ใครก็ได้ช่วยอธิบายสิ่งที่มันเกิดขั้น ที่มันย้อนแย้งกันนี้ให้เข้าใจหน่อยได้มั๊ย ?
ถ้า คหสต.จริง ๆ เราก็ให้ นน.กับหมอปฏิบัติมากกว่าหมอนโยบายนะ เพราะเค้าทำงานอยู่ใน รพ.จริง ๆ อยู่หน้างานจริง รักษาคนไข้จริง ส่วนหมอนโยบาย ก็อย่างที่เห็น ๆ หล่ะ ใส่สูทผูกเนคไท หรือใส่ชุดหมอ ออกมาคอยให้สัมภาษณ์หรือแถลงข่าว นั่นนี่โน่นรายวัน
รู้สึกอึดอัดกับสถานการณ์การแก้ปัญหาการแพร่ระบาดของโควิด 19 ในปัจจุบันมาก
คือ ส่วนตัวเรารู้สึกอึดอัดกับการแก้ปัญหาการแพร่ระบาดของโรคโควิด 19 มากค่ะ (จะไม่ขอโทษใครฝ่ายใดฝ่ายหนึ่ง ) เราก็เป็นคนธรรมดา ๆ คนนึง ไม่ค่อยรู้เรืองการทำงานของ สาธารณสุขเท่าไหร่หรอกนะ ตามความเข้าใจของเรา ก็ขอแบ่งการทำงานของระบบสาธารณสุขไทยเป็น 2 แบบแล้วกัน
1. พวกหมอวางนโยบาย ก็คือพวกหมอ ศบค. , พวกหมอกระทรวงที่อยู่ตามหน่วยงานต่าง ๆ ยกตัวอย่างที่รู้จักเห็นหน้าประจำ ก็อธิบดีกรมควบคุมโรค
ฯลฯ
2. พวกหมอปฏิบัติ ก็คือบุคลากรทางการแพทย์ที่ทำงานตาม รพ.ต่าง ๆ อยู่หน้างาานกันจริง ๆ รักษาคนไข้จริง ๆ ไม่ว่าจะตำแหน่งอะไรกันก็ตามแต่
ที่นี่ที่เราสงสัยมากคือ ในวันนี้ / สองวันมานี้ หมอปฏิบัติก็ออกมาบอกว่าเตียงไม่มี เตียงไม่พอ วิกฤตหนัก ต้องเลือกจิ้มคนไข้แล้ว ใครจะอยู่ใครจะไป จะลดวันอยู่ รพ.จาก 14 วันเป็น 10 วันแล้ว และก็แนะนำอะไรหลาย ๆ อย่าง
ที่สงสัยคือ หมอวางนโยบายเนี่ย ต้องฟังหมอปฏิบัติมั๊ย ?? หรือไม่ต้องฟัง ใครมีหน้าที่ปฏิบัติก็ปฏิบัติไป ใครมีหน้าที่วางนโยบายก็วางนโยบายไป อะไรแบบนั้นหรือ อย่างหมอปฏิบัติบอกว่าควรล๊อคดาวน์กทม. หมอนโยบายบอกไม่ต้องไม่จำเป็น บลา ๆๆๆ คือรู้สึกมันย้อนแย้งมาก กับยอดคนป่วยที่วันละ 2-3 พันคนต่อวัน ไม่เคยต่ำกว่านี้มาเป็นเดือน ๆ แล้ว และยอดคนตาย 30-40-50 คน ไม่เคยต่ำกว่านี้เป็นเดือน ๆ แล้วเหมือนกัน แต่ดูเหมือนพวกหมอนโยบายเนี่ย เฉยกันมาก ไม่สะทกสะท้านสะเทือน ไม่มีมาตรการอะไรในเชิงรุกที่จะช่วยให้สถานการณ์มันดีขึ้น และยิ่งบ้าเข้าไปใหญ่กับนโยบายอย่างเปิดประเทศ หรือผ่อนคลายมาตรการต่าง ๆ ของผู้นำหรือนักการเมือง
คือ....ไม่เข้าใจ ใครก็ได้ช่วยอธิบายสิ่งที่มันเกิดขั้น ที่มันย้อนแย้งกันนี้ให้เข้าใจหน่อยได้มั๊ย ?
ถ้า คหสต.จริง ๆ เราก็ให้ นน.กับหมอปฏิบัติมากกว่าหมอนโยบายนะ เพราะเค้าทำงานอยู่ใน รพ.จริง ๆ อยู่หน้างานจริง รักษาคนไข้จริง ส่วนหมอนโยบาย ก็อย่างที่เห็น ๆ หล่ะ ใส่สูทผูกเนคไท หรือใส่ชุดหมอ ออกมาคอยให้สัมภาษณ์หรือแถลงข่าว นั่นนี่โน่นรายวัน