ยอด 'โควิด-19' วันนี้ พบเสียชีวิต 38 ราย ติดเชื้อเพิ่มอีก 2,230 ราย
วันที่ 1 มิ.ย. 64 ภาพรวมของการระบาดยังต้องคอยเฝ้าระวังอย่างใกล้ชิด หลังพบผู้ติดเชื้อโควิด-19 รายใหม่อีก 2,230 ราย แบ่งเป็น ผู้ติดเชื้อรายใหม่ 2,153 ราย และผู้ติดเชื้อในเรือนจำ 77 ราย ทำให้มียอดผู้ป่วยยืนยันสะสมแล้วจนถึงวันนี้ 154,307 ราย
https://www.bangkokbiznews.com/news/detail/941109
อนามัยโลก ใช้ภาษากรีก เรียกชื่อไวรัสโควิดกลายพันธุ์ เลิกเรียกด้วยชื่อเมือง-ประเทศ
วานนี้ (31 พ.ค.) องค์การอนามัยโลก หรือ WHO ประกาศหลักการเรียกชื่อไวรัสโควิด-19 กลายพันธ์ุ แบบใหม่ โดยใช้ตัวอักษรกรีก ในการระบุสายพันธ์ุของไวรัสโควิดที่กลายพันธุ์ จากเดิมที่เรียกด้วยชื่อประเทศต่างๆ ที่พบไวรัสสายพันธุ์นั้นเป็นครั้งแรก เช่น อังกฤษ, แอฟริกาใต้ หรือ อินเดีย เป็นต้น
จากระบบการเรียกชื่อใหม่ของ WHO นี้ จะทำให้ไวรัสโควิดสายพันธ์ต่างๆ ถูกเรียกใหม่ดังนี้
สายพันธ์ุ B.1.1.7 พบเป็นครั้งแรกใน อังกฤษ เรียกว่า "อัลฟา"
สายพันธ์ุ B.1.351 พบครั้งแรกใน แอฟริกาใต้ เรียกว่า "เบตา"
สายพันธุ์ P1 พบครั้งแรกในใน บราซิล เรียกว่า "แกมมา"
สายพันธุ์ B.1.617.2 พบครั้งแรกใน อินเดีย เรียกว่า "เดลตา"
WHO ระบุว่า ระบบการเรียกชื่อใหม่นี้ ช่วยขจัดการตีตราประเทศนั้นๆ ว่าเป็นต้นตอของไวรัสสายพันธุ์ต่างๆ อีกด้วย
https://www.sanook.com/news/8390354/
ลุ้นให้หายป่วยมากกว่าป่วยใหม่แบบนี้ทุกวันเลยค่ะ
🇹🇭มาลาริน🎀วันนี้1มิ.ย.หายป่วย3,390คน มากกว่าป่วยใหม่2,230คน/WHOใช้ภาษากรีก เรียกชื่อโควิดกลายพันธุ์ แทนชื่อประเทศ
วันที่ 1 มิ.ย. 64 ภาพรวมของการระบาดยังต้องคอยเฝ้าระวังอย่างใกล้ชิด หลังพบผู้ติดเชื้อโควิด-19 รายใหม่อีก 2,230 ราย แบ่งเป็น ผู้ติดเชื้อรายใหม่ 2,153 ราย และผู้ติดเชื้อในเรือนจำ 77 ราย ทำให้มียอดผู้ป่วยยืนยันสะสมแล้วจนถึงวันนี้ 154,307 ราย
https://www.bangkokbiznews.com/news/detail/941109
อนามัยโลก ใช้ภาษากรีก เรียกชื่อไวรัสโควิดกลายพันธุ์ เลิกเรียกด้วยชื่อเมือง-ประเทศ
วานนี้ (31 พ.ค.) องค์การอนามัยโลก หรือ WHO ประกาศหลักการเรียกชื่อไวรัสโควิด-19 กลายพันธ์ุ แบบใหม่ โดยใช้ตัวอักษรกรีก ในการระบุสายพันธ์ุของไวรัสโควิดที่กลายพันธุ์ จากเดิมที่เรียกด้วยชื่อประเทศต่างๆ ที่พบไวรัสสายพันธุ์นั้นเป็นครั้งแรก เช่น อังกฤษ, แอฟริกาใต้ หรือ อินเดีย เป็นต้น
จากระบบการเรียกชื่อใหม่ของ WHO นี้ จะทำให้ไวรัสโควิดสายพันธ์ต่างๆ ถูกเรียกใหม่ดังนี้
สายพันธ์ุ B.1.1.7 พบเป็นครั้งแรกใน อังกฤษ เรียกว่า "อัลฟา"
สายพันธ์ุ B.1.351 พบครั้งแรกใน แอฟริกาใต้ เรียกว่า "เบตา"
สายพันธุ์ P1 พบครั้งแรกในใน บราซิล เรียกว่า "แกมมา"
สายพันธุ์ B.1.617.2 พบครั้งแรกใน อินเดีย เรียกว่า "เดลตา"
WHO ระบุว่า ระบบการเรียกชื่อใหม่นี้ ช่วยขจัดการตีตราประเทศนั้นๆ ว่าเป็นต้นตอของไวรัสสายพันธุ์ต่างๆ อีกด้วย
https://www.sanook.com/news/8390354/
ลุ้นให้หายป่วยมากกว่าป่วยใหม่แบบนี้ทุกวันเลยค่ะ