หานํ้ายาที่ทาเคลือบลงบนวัตถุมีพิษได้ โดยต้องมีเนื้อใส และสามารถป้องกันสารปรอทได้
หมายถึงเฉพาะสารเคลือบเงาที่มีลักษณะโปร่งใสนะครับ คือจำพวกตัวเคลือบที่เป็นพลาสติกหรือยางไม้
เช่น...
-นํ้ายาทาเล็บ
-เรซิ่น
-แล็คเกอร์
-สารเคลือบเงาไม้อื่น ๆ (หรือจำพวกโพลี, สีย้อมไม้)
-อื่น ๆ ...?
ประเด็นคือ ผมสงสัยด้วยว่า พวกสารละลายของตัวเคลือบ (เช่นทินเนอร์,นํ้ามันสน) มันมีผลต่อการระเหยของสารปรอทบ้างมั้ย?
เช่นไปช่วยสกัด หรือสามารถดูดซึมสารปรอทได้?
คือกลายเป็นว่า แทนที่เคลือบด้วยหวังจะป้องกัน กลับไปเร่งการระเหยของสารพิษแทน เพราะส่วนประกอบ
.....ทั้งนี้คือสมุมตินะครับ คาดเดามั่วๆ ไม่มีข้อมูลใด ๆ เลย
แต่อย่างไรก็ตาม สมุมติว่าที่กล่าวมาข้างต้นมีมูล สารละลายพวกนี้มันก็ระเหยได้ เข้าใจว่าคุณสมบัติการทำละลายมันน่าจะหมดไปเมื่อแห้ง
ดังนั้นต่อให้สารทำละลายมีผลกับสารปรอทได้จริง เมื่อระเหยหมดแล้วก็ควรจะปลอดภัยหรือไม่?
ผมก็เข้าใจว่าโดยทั่วไป เขาสกัดสารปรอทออกมาด้วยความร้อนกัน (กรณีที่สารปรอทยังอยู่ในสถาพแร่ไม่ถูกสกัด)
*ทั้งนี้คือลองหาปฏิกิริยาระหว่างสารปรอทกับสารทำละลายต่าง ๆ ไม่เจอเลยจริง ๆ อยากรู้เหมือนกัน มีใครพอจะทราบมั้ยฮะ?
**ถามด้วยความอยากรู้+เผื่อเพิ่มเติมลงในรายงานเกี่ยวกับสารเคมี ส่งการบ้านวิจัย
ปกติไม่ค่อยได้ใช้พันทิปเลย เข้าใจว่าสอบถามพี่ ๆ ห้องหว้ากอ น่าจะเกี่ยวข้องที่สุด
***ลงรายละเอียดเพิ่มถึงจุดประสงค์ที่ตั้งกระทู้ครับ**
คือมันเริ่มมาจากอาจารย์ท่านนึง เขายกตัวอย่างแร่บางชนิดที่นำมาทำเครื่องประดับ แต่มีความเป็นนพิษเจือปน ว่าจะนำมาใช้อย่างไรให้ปลอดภัย ผมเลยนึกถึงแร่ซินนาบาร์ ที่เขานำมาสกัดสารปรอท แล้วคิดเล่นๆ ว่าถ้าหาอะไรเคลือบไปซะ จะเป็นยังไง (ยังไม่ต้องพูดถึงเรื่องว่าทำแล้วมันจะลดค่าอัญมณีใดๆ นะครับ แค่การตี๊ต่าง)
มันเลยเกิดเป็นโจทย์ขึ้นว่า สารทำละลายมีปฏิกิริยาใดๆ กับสารปรอทหรือไม่
มีสารเคลือบชนิดใด สามารถป้องกันสารปรอท หรือกันการระเหยของปรอทได้บ้าง
หมายถึงเฉพาะสารเคลือบเงาที่มีลักษณะโปร่งใสนะครับ คือจำพวกตัวเคลือบที่เป็นพลาสติกหรือยางไม้
เช่น...
-นํ้ายาทาเล็บ
-เรซิ่น
-แล็คเกอร์
-สารเคลือบเงาไม้อื่น ๆ (หรือจำพวกโพลี, สีย้อมไม้)
-อื่น ๆ ...?
ประเด็นคือ ผมสงสัยด้วยว่า พวกสารละลายของตัวเคลือบ (เช่นทินเนอร์,นํ้ามันสน) มันมีผลต่อการระเหยของสารปรอทบ้างมั้ย?
เช่นไปช่วยสกัด หรือสามารถดูดซึมสารปรอทได้?
คือกลายเป็นว่า แทนที่เคลือบด้วยหวังจะป้องกัน กลับไปเร่งการระเหยของสารพิษแทน เพราะส่วนประกอบ
.....ทั้งนี้คือสมุมตินะครับ คาดเดามั่วๆ ไม่มีข้อมูลใด ๆ เลย
แต่อย่างไรก็ตาม สมุมติว่าที่กล่าวมาข้างต้นมีมูล สารละลายพวกนี้มันก็ระเหยได้ เข้าใจว่าคุณสมบัติการทำละลายมันน่าจะหมดไปเมื่อแห้ง ดังนั้นต่อให้สารทำละลายมีผลกับสารปรอทได้จริง เมื่อระเหยหมดแล้วก็ควรจะปลอดภัยหรือไม่?
ผมก็เข้าใจว่าโดยทั่วไป เขาสกัดสารปรอทออกมาด้วยความร้อนกัน (กรณีที่สารปรอทยังอยู่ในสถาพแร่ไม่ถูกสกัด)
*ทั้งนี้คือลองหาปฏิกิริยาระหว่างสารปรอทกับสารทำละลายต่าง ๆ ไม่เจอเลยจริง ๆ อยากรู้เหมือนกัน มีใครพอจะทราบมั้ยฮะ?
**ถามด้วยความอยากรู้+เผื่อเพิ่มเติมลงในรายงานเกี่ยวกับสารเคมี ส่งการบ้านวิจัย
ปกติไม่ค่อยได้ใช้พันทิปเลย เข้าใจว่าสอบถามพี่ ๆ ห้องหว้ากอ น่าจะเกี่ยวข้องที่สุด
***ลงรายละเอียดเพิ่มถึงจุดประสงค์ที่ตั้งกระทู้ครับ**
คือมันเริ่มมาจากอาจารย์ท่านนึง เขายกตัวอย่างแร่บางชนิดที่นำมาทำเครื่องประดับ แต่มีความเป็นนพิษเจือปน ว่าจะนำมาใช้อย่างไรให้ปลอดภัย ผมเลยนึกถึงแร่ซินนาบาร์ ที่เขานำมาสกัดสารปรอท แล้วคิดเล่นๆ ว่าถ้าหาอะไรเคลือบไปซะ จะเป็นยังไง (ยังไม่ต้องพูดถึงเรื่องว่าทำแล้วมันจะลดค่าอัญมณีใดๆ นะครับ แค่การตี๊ต่าง)
มันเลยเกิดเป็นโจทย์ขึ้นว่า สารทำละลายมีปฏิกิริยาใดๆ กับสารปรอทหรือไม่