ไอ อัย ใอ สัมผัสกันได้ เช่น ไร นัย ใคร
แต่ ใน ยาย ขาย ไม่ได้ ต้อง ยาย ขาย นาย
กิน ปีนไม่ได้ กิน อิน สิน ได้
มีน ศีล ปีน ตีน ได้
เลน เช่น เส้น เว้นได้ แต่ เป็น ไม่ได้
เซ่น เส้น ผิดครับ ในแง่เสียงเดียวกัน เรียกว่าสัมผัสซ้ำ
เย็น เห็น เซ็น เหม็น ได้ แต่ เยน ไม่ได้
กาง กัง ไม่ได้
อง โอง ไม่ได้
จง ตรง ดง ลง ได้
โมง โยง โขลง โปง ได้
รัง นั่ง ขลัง พัง ได้ แต่จะไปเอา ราง ไม่ได้
ราง นาง พราง สร้าง ได้ แต่ ดัง ไม่ได้
เป็นต้นครับ
สังเกตว่า
ไม่บังคับในเพลงพื้นบ้าน เช่น ลิเก ลำตัด ฉ่อย นะครับ
แม้รูปสระตรงกันแล้ว ยังต้องระวังเสียงซ้ำกัน เรียกว่า สัมผัสซ้ำ เช่น
ปัญหา สรร หา ซ้ำแบบเต็มตัวเลย
ไพ ภัย ใส ไส ใส
วัย ไว ใน นัย ไน
สัมผัสระหว่างวรรคหรือบทนี้ เรียกว่า "สัมผัสนอก" คงหมายถึงนอกวรรค
ค่อยค้นคว้าเรื่อง สัมผัสใน สัมผัสซ้ำ สัมผัสเลือน ชิงสัมผัสเพิ่มครับ
สระเสียงสั้น สระเสียงยาว สัมผัสระหว่างวรรคหรือบท
แต่ ใน ยาย ขาย ไม่ได้ ต้อง ยาย ขาย นาย
กิน ปีนไม่ได้ กิน อิน สิน ได้
มีน ศีล ปีน ตีน ได้
เลน เช่น เส้น เว้นได้ แต่ เป็น ไม่ได้
เซ่น เส้น ผิดครับ ในแง่เสียงเดียวกัน เรียกว่าสัมผัสซ้ำ
เย็น เห็น เซ็น เหม็น ได้ แต่ เยน ไม่ได้
กาง กัง ไม่ได้
อง โอง ไม่ได้
จง ตรง ดง ลง ได้
โมง โยง โขลง โปง ได้
รัง นั่ง ขลัง พัง ได้ แต่จะไปเอา ราง ไม่ได้
ราง นาง พราง สร้าง ได้ แต่ ดัง ไม่ได้
เป็นต้นครับ
สังเกตว่า
ไม่บังคับในเพลงพื้นบ้าน เช่น ลิเก ลำตัด ฉ่อย นะครับ
แม้รูปสระตรงกันแล้ว ยังต้องระวังเสียงซ้ำกัน เรียกว่า สัมผัสซ้ำ เช่น
ปัญหา สรร หา ซ้ำแบบเต็มตัวเลย
ไพ ภัย ใส ไส ใส
วัย ไว ใน นัย ไน
สัมผัสระหว่างวรรคหรือบทนี้ เรียกว่า "สัมผัสนอก" คงหมายถึงนอกวรรค
ค่อยค้นคว้าเรื่อง สัมผัสใน สัมผัสซ้ำ สัมผัสเลือน ชิงสัมผัสเพิ่มครับ