สุดยอดความคิดเห็น
ความคิดเห็นที่ 8
ทำถามนี้มองได้หลายแง่นะ
1. ถ้ามองในแง่วิวัฒนาการ รู้สึกว่าบรรพบุรุษของมนุษย์จะเป็น polygamy (เช่น คิงคอง) มีตัวจ่าฝูง + บริวารเพศเมีย แล้วก็การเลี้ยงดูของมนุษย์ดูใช้พลังงานมากกว่า เพื่อให้อัตราการอยู่รอดของลูกตัวเองสูงสุด (ไม่ใช่ปล่อยออกมาเยอะๆแล้วปล่อยให้อยู่รอดเองแบบ ปลา / กบ)
นอกนั้นอาจจะเป็นการเพิ่ม survival rate โดยการเอาพลังงานช่วงที่ไม่มีการผสมพันธุ์มา focus กับการเลี้ยงดูบุตรที่โตแล้ว (เพิ่มเวลาเลี้ยงดู = เพิ่ม survival)
2. อันนี้มองในแง่สรีรวิทยา เซลล์ไข่มันสร้างทิ้งไว้ช่วงแรกของชีวิต แล้วค่อยโตพร้อมผสมพันธุ์ในช่วงวัยรุ่น หลังจากช่วง 40 ปีไป ไข่เริ่มเสื่อมสภาพไปจากตามอายุ เช่นเดียวกันกับเซลล์ support อื่นๆ ในระบบสืบพันธุ์ ทั้ง endometrium cervix vagina พวกนี้แบ่งตัวเร็วมาก ต้องใช้พลังงานมาก หลังช่วง middle age ไป ร่างกายเริ่มทนไม่ไหวที่จะเกิดกลไกที่พร้อมผสมพันธุ์ เกิดผลต่างๆที่เห็นก็คือวัยทองแหละ (เสี่ยงเป็นกระดูกพรุนเยอะขึ้นมากๆ)
1. ถ้ามองในแง่วิวัฒนาการ รู้สึกว่าบรรพบุรุษของมนุษย์จะเป็น polygamy (เช่น คิงคอง) มีตัวจ่าฝูง + บริวารเพศเมีย แล้วก็การเลี้ยงดูของมนุษย์ดูใช้พลังงานมากกว่า เพื่อให้อัตราการอยู่รอดของลูกตัวเองสูงสุด (ไม่ใช่ปล่อยออกมาเยอะๆแล้วปล่อยให้อยู่รอดเองแบบ ปลา / กบ)
นอกนั้นอาจจะเป็นการเพิ่ม survival rate โดยการเอาพลังงานช่วงที่ไม่มีการผสมพันธุ์มา focus กับการเลี้ยงดูบุตรที่โตแล้ว (เพิ่มเวลาเลี้ยงดู = เพิ่ม survival)
2. อันนี้มองในแง่สรีรวิทยา เซลล์ไข่มันสร้างทิ้งไว้ช่วงแรกของชีวิต แล้วค่อยโตพร้อมผสมพันธุ์ในช่วงวัยรุ่น หลังจากช่วง 40 ปีไป ไข่เริ่มเสื่อมสภาพไปจากตามอายุ เช่นเดียวกันกับเซลล์ support อื่นๆ ในระบบสืบพันธุ์ ทั้ง endometrium cervix vagina พวกนี้แบ่งตัวเร็วมาก ต้องใช้พลังงานมาก หลังช่วง middle age ไป ร่างกายเริ่มทนไม่ไหวที่จะเกิดกลไกที่พร้อมผสมพันธุ์ เกิดผลต่างๆที่เห็นก็คือวัยทองแหละ (เสี่ยงเป็นกระดูกพรุนเยอะขึ้นมากๆ)
แสดงความคิดเห็น
ทำไมผู้ชายมีลูกได้ตลอดแต่ผู้หญิงมีลูกได้แค่ช่วงนึงของชีวิต