หากเยอรมันไม่ได้ถูกบีบเอาทรัพยากรอย่างหนัก และเสียดินแดนไป
อิตเลอร์ เคยเป็๋นทหารที่รบในสงครามโลก ครั้งที่ 1 และบาดเจ็บ
ฮิตเลอร์ จะใช้เงื่อนไขนี้ จากความขัดสนของคนในชาติ ขึ้นมาเป็น หัวหน้าพรรค จนมาเป็นผู้นำได้หรือไม่
หรือเพราะการพูดของอิตเลอร์ทำให้ คนคล้อยตาม
มีการทำสนธิสัญญาที่เรียกว่า "สนธิสัญญาแวซาย" ซึ่งมีสาระสำคัญดังนี้
1. ฝ่ายมหาอำนาจกลางต้องเสียค่าปฏิกรรมสงครามเป็นจำนวนเงิน 5,000 ล้านดอลลาร์
2. ห้ามเยอรมนีมีทหารประจำการเกิน 100,000 คน
3. ฝ่ายมหาอำนาจกลางต้องถอนทหารออกจากชายแดนทั่วประเทศ
4. เยอรมันต้องส่งมอบถ่านหินให้ฝรั่งเศสฟรี เป็นเวลา 10 ปี
เมื่อฮิตเลอร์เป็นนายกฯ (ควบประธานาธิบดี) ก็ตั้ง อดีตผู้ว่าแบงก์ชาติ นามจาลมาร์ ชาคท์ (เยอรมันเขียน Hjalmar Schacht) เป็น รัฐมนตรีกระทรวงเศรษฐกิจ ทำหน้าที่ผลักดันนโยบายแก้ปัญหาเศรษฐกิจ
ทันทีที่ท่านขึ้นเป็นรัฐมนตรี และได้ไฟเขียวจากท่านผู้นำที่ได้อำนาจเต็ม แบบไม่มีผู้โต้แย้ง ก็ผลักดันทฤษฎีเคย์นส เพื่อแก้เศรษฐกิจทันที
สมัยฮิตเลอร์มีนโยบายจ้างงานออกมา ทั้งสร้างทางด่วนออโต้บาห์น สร้างเขื่อน สร้างถนน สร้างเมือง ผลิตรถ เครื่องบิน จนถึงสันทนาการ ประเภทคอนเสิร์ต พิพิธภัณฑ์ สวนสัตว์ สวนสนุก แต่ยังไม่พอกับการแก้ไขสภาพเศรษฐกิจที่เลวร้ายสุดๆของเยอรมัน
ในฐานะที่เป็นพรรคสังคมนิยม จึงต้องพิจารณาเศรษฐกิจถึงฐานรากทางสังคม ฮิตเลอร์เข้าไป “แก้ไข” กลไกกฎระเบียบการจ้างงานให้เหมาะสม โดยให้ยื่นหมูแมวกันระหว่างลูกจ้างกับนายจ้าง “นายจ้างต้องจ้างคนงานเพิ่ม” ส่วน “ลูกจ้างต้องทำงานให้หนักขึ้นและห้ามเลือกงาน”แบบนี้ก็ดีด้วยกันทั้งสองฝ่าย (คนเยอรมันมีวินัยและพร้อมทำงานหนักอยู่แล้ว ยิ่งเจอภาวะห้ามเรื่องมากยิ่งต้องทำ)
ทำงานหนัก ก็แลกมาด้วยความสุข ฮิตเลอร์ แจกคูปองให้เที่ยวฟรีวันหยุด แต่มีโควตา คือ ต้องลงทะเบียนว่า สัปดาห์นี้ อยากไปไหน เช่น “ดูคอนเสิร์ต” “ไปสวนสัตว์ดูหมีแพนด้า” “ไปพิพิธภัณฑ์ดูของเก่า” หรือ “ไปนั่งชมสวน” ก็เลือกได้ สัปดาห์ละรายการ
ทำแบบนี้เศรษฐกิจก็หมุนดีเกิดร้านขายของรับนักท่องเที่ยว ร้านขายอาหาร และศูนย์การค้าก็ขายดีขึ้น
ไม่เพียงแค่นั้น ท่านผู้นำมีวิสัยทัศน์ดีมาก คิดยกระดับโดยการเน้นการวิจัยและพัฒนา โดยท่านมองว่า เยอรมันมีนักวิทยาศาสตร์เก่งๆ ทำไมถึงตกต่ำ จึงระดมนักวิจัยจัดตั้งเป็นศูนย์วิจัยใหญ่ รับโจทย์วิจัยจากรัฐที่ชี้โดยตรงว่า “ให้ทำวิจัยเรื่องอะไร”
ในเยอรมันสมัยนั้น (เกือบ 90 ปีมาแล้ว) มีบันไดเลื่อนใช้ในห้างกันแล้ว แต่มาตรการที่เข้มงวดในการแก้ปัญหาคนตกงานที่ยอดเยี่ยมที่สุด ก็คือ การไล่คนที่ไม่สมควรทำงานออกจากงาน
“ใครบ้างไม่สมควรทำงาน” หนึ่ง คือ ผู้หญิง ฮิตเลอร์มองว่า ผู้หญิงจะทำงานทำไม อยู่บ้านเลี้ยงลูก ดูแลครอบครัว แล้วรับเงินจากสามีดีกว่า ปล่อยโควตาทำงานให้แก่ครอบครัวที่ว่างงาน (เหตุนี้ การว่างงานเลยลดลงเร็วมาก เพราะฮิตเลอร์ให้แก้นิยามคนว่างงาน ว่า ผู้หญิงไม่ตกงานเพราะต้องทำงานบ้าน)
ฮิตเลอร์เอาเงินงบประมาณจากไหนมาพัฒนาประเทศ? เนื่องจากตอนนั้นเศรษฐกิจเยอรมันวิกฤติมาก เงินคงคลังแทบไม่มี
ฮิตเลอร์ทำสวนทางกับการลดงบทหาร โดยมองว่า อุตสาหกรรมทหารเป็นอุตสาหกรรมที่มูลค่าเพิ่มสูงจ้างงานมาก ไม่เท่านั้นยังเป็นการลงทุนที่ให้ผลตอบแทนสูง แม้จะมีความเสี่ยงสูงมากก็ตาม ฮิตเลอร์จึงเน้นการลงทุนในงบทหารค่อนข้างมาก (แต่ จะให้ผลตอบแทนดีเฉพาะช่วงแรก)
http://www.fpri.or.th/wp/?p=1181#.X-8pplUzbIU
หลัง ww1 หากฝรั่งเศสไม่ขูดรีดเยอรมันมาก จนเศรษฐกิจเยอรมันเงินเฟ้อสูงมากและขัดสน ฮิตเลอร์ จะขึ้นมาเป็นมาได้หรือไม่
อิตเลอร์ เคยเป็๋นทหารที่รบในสงครามโลก ครั้งที่ 1 และบาดเจ็บ
ฮิตเลอร์ จะใช้เงื่อนไขนี้ จากความขัดสนของคนในชาติ ขึ้นมาเป็น หัวหน้าพรรค จนมาเป็นผู้นำได้หรือไม่
หรือเพราะการพูดของอิตเลอร์ทำให้ คนคล้อยตาม
มีการทำสนธิสัญญาที่เรียกว่า "สนธิสัญญาแวซาย" ซึ่งมีสาระสำคัญดังนี้
1. ฝ่ายมหาอำนาจกลางต้องเสียค่าปฏิกรรมสงครามเป็นจำนวนเงิน 5,000 ล้านดอลลาร์
2. ห้ามเยอรมนีมีทหารประจำการเกิน 100,000 คน
3. ฝ่ายมหาอำนาจกลางต้องถอนทหารออกจากชายแดนทั่วประเทศ
4. เยอรมันต้องส่งมอบถ่านหินให้ฝรั่งเศสฟรี เป็นเวลา 10 ปี
เมื่อฮิตเลอร์เป็นนายกฯ (ควบประธานาธิบดี) ก็ตั้ง อดีตผู้ว่าแบงก์ชาติ นามจาลมาร์ ชาคท์ (เยอรมันเขียน Hjalmar Schacht) เป็น รัฐมนตรีกระทรวงเศรษฐกิจ ทำหน้าที่ผลักดันนโยบายแก้ปัญหาเศรษฐกิจ
ทันทีที่ท่านขึ้นเป็นรัฐมนตรี และได้ไฟเขียวจากท่านผู้นำที่ได้อำนาจเต็ม แบบไม่มีผู้โต้แย้ง ก็ผลักดันทฤษฎีเคย์นส เพื่อแก้เศรษฐกิจทันที
สมัยฮิตเลอร์มีนโยบายจ้างงานออกมา ทั้งสร้างทางด่วนออโต้บาห์น สร้างเขื่อน สร้างถนน สร้างเมือง ผลิตรถ เครื่องบิน จนถึงสันทนาการ ประเภทคอนเสิร์ต พิพิธภัณฑ์ สวนสัตว์ สวนสนุก แต่ยังไม่พอกับการแก้ไขสภาพเศรษฐกิจที่เลวร้ายสุดๆของเยอรมัน
ในฐานะที่เป็นพรรคสังคมนิยม จึงต้องพิจารณาเศรษฐกิจถึงฐานรากทางสังคม ฮิตเลอร์เข้าไป “แก้ไข” กลไกกฎระเบียบการจ้างงานให้เหมาะสม โดยให้ยื่นหมูแมวกันระหว่างลูกจ้างกับนายจ้าง “นายจ้างต้องจ้างคนงานเพิ่ม” ส่วน “ลูกจ้างต้องทำงานให้หนักขึ้นและห้ามเลือกงาน”แบบนี้ก็ดีด้วยกันทั้งสองฝ่าย (คนเยอรมันมีวินัยและพร้อมทำงานหนักอยู่แล้ว ยิ่งเจอภาวะห้ามเรื่องมากยิ่งต้องทำ)
ทำงานหนัก ก็แลกมาด้วยความสุข ฮิตเลอร์ แจกคูปองให้เที่ยวฟรีวันหยุด แต่มีโควตา คือ ต้องลงทะเบียนว่า สัปดาห์นี้ อยากไปไหน เช่น “ดูคอนเสิร์ต” “ไปสวนสัตว์ดูหมีแพนด้า” “ไปพิพิธภัณฑ์ดูของเก่า” หรือ “ไปนั่งชมสวน” ก็เลือกได้ สัปดาห์ละรายการ
ทำแบบนี้เศรษฐกิจก็หมุนดีเกิดร้านขายของรับนักท่องเที่ยว ร้านขายอาหาร และศูนย์การค้าก็ขายดีขึ้น
ไม่เพียงแค่นั้น ท่านผู้นำมีวิสัยทัศน์ดีมาก คิดยกระดับโดยการเน้นการวิจัยและพัฒนา โดยท่านมองว่า เยอรมันมีนักวิทยาศาสตร์เก่งๆ ทำไมถึงตกต่ำ จึงระดมนักวิจัยจัดตั้งเป็นศูนย์วิจัยใหญ่ รับโจทย์วิจัยจากรัฐที่ชี้โดยตรงว่า “ให้ทำวิจัยเรื่องอะไร”
ในเยอรมันสมัยนั้น (เกือบ 90 ปีมาแล้ว) มีบันไดเลื่อนใช้ในห้างกันแล้ว แต่มาตรการที่เข้มงวดในการแก้ปัญหาคนตกงานที่ยอดเยี่ยมที่สุด ก็คือ การไล่คนที่ไม่สมควรทำงานออกจากงาน
“ใครบ้างไม่สมควรทำงาน” หนึ่ง คือ ผู้หญิง ฮิตเลอร์มองว่า ผู้หญิงจะทำงานทำไม อยู่บ้านเลี้ยงลูก ดูแลครอบครัว แล้วรับเงินจากสามีดีกว่า ปล่อยโควตาทำงานให้แก่ครอบครัวที่ว่างงาน (เหตุนี้ การว่างงานเลยลดลงเร็วมาก เพราะฮิตเลอร์ให้แก้นิยามคนว่างงาน ว่า ผู้หญิงไม่ตกงานเพราะต้องทำงานบ้าน)
ฮิตเลอร์เอาเงินงบประมาณจากไหนมาพัฒนาประเทศ? เนื่องจากตอนนั้นเศรษฐกิจเยอรมันวิกฤติมาก เงินคงคลังแทบไม่มี
ฮิตเลอร์ทำสวนทางกับการลดงบทหาร โดยมองว่า อุตสาหกรรมทหารเป็นอุตสาหกรรมที่มูลค่าเพิ่มสูงจ้างงานมาก ไม่เท่านั้นยังเป็นการลงทุนที่ให้ผลตอบแทนสูง แม้จะมีความเสี่ยงสูงมากก็ตาม ฮิตเลอร์จึงเน้นการลงทุนในงบทหารค่อนข้างมาก (แต่ จะให้ผลตอบแทนดีเฉพาะช่วงแรก)
http://www.fpri.or.th/wp/?p=1181#.X-8pplUzbIU