คำตอบที่ได้รับเลือกจากเจ้าของกระทู้
ความคิดเห็นที่ 1
1. มีได้หลายอันดับ ทั้งจำนวนเต็ม เศษส่วน ติดลบ
2. จริงๆแล้ว ถ้าเรียนจะมีเนื้อหาเกี่ยวกับกลไกของ rxn และอันดับก็ขึ้นกับขั้นตอนที่ช้าที่สุด เนื่องจาก Ea มากที่สุด จะเห็นว่าอันดับจะตามเลขดุลของขั้นนั้นๆเลย แต่ในความเป็นจริง หาจากการทดลองง่ายกว่าไป proposed mechanism
3. ตามที่ตอบไปแล้วในข้อ 2 ถ้าไม่มีสารใดในขั้นกำหนดปฏิกิริยา มันก็ไม่ขึ้นกับสารนั้น
4. R = k(A)x (B)y เราเรียกเป็น อับดับ x เมื่อเทียบกับ A และอันดับ y เมื่อทเียบกับ B และมีอันดับรวม หรืออันดับของปฏิกิริยาเป็น x+y
2. จริงๆแล้ว ถ้าเรียนจะมีเนื้อหาเกี่ยวกับกลไกของ rxn และอันดับก็ขึ้นกับขั้นตอนที่ช้าที่สุด เนื่องจาก Ea มากที่สุด จะเห็นว่าอันดับจะตามเลขดุลของขั้นนั้นๆเลย แต่ในความเป็นจริง หาจากการทดลองง่ายกว่าไป proposed mechanism
3. ตามที่ตอบไปแล้วในข้อ 2 ถ้าไม่มีสารใดในขั้นกำหนดปฏิกิริยา มันก็ไม่ขึ้นกับสารนั้น
4. R = k(A)x (B)y เราเรียกเป็น อับดับ x เมื่อเทียบกับ A และอันดับ y เมื่อทเียบกับ B และมีอันดับรวม หรืออันดับของปฏิกิริยาเป็น x+y
แสดงความคิดเห็น
ขอถามเกี่ยวกับกฏอัตรา,ปฏิกิริยาอันดับต่างๆ
aA + bB -----------> cC + dD
r = k , r = k[A] , r = k[A]2
1.) ปฏิกิริยาอันดับต่างๆ มีได้กี่อันดับ?
2.) ทำไมเลขอันดับไม่เกี่ยวกับเลขดุล?
3.) ทำไมสารบางชนิด เมื่อเกิดปฏฺิกิริยา ถึงมีอัตรา แปรผัน กับความเข้มข้นกำลังสอง หรือ บางชนิดก็ไม่แปรผันตามความเข้มข้น? (ขอทฤษฏีที่อธิบาย)
aA + bB -----------> cC + dD
กฏอัตราจะเป็น r = k [A]x(B)y
4.) ถ้ามองแค่สารAอย่างเดียว r = k[A]x จะเป็นปฎิกิริยาอันดับxของAใช่หรือไหม?
คำเตือน
1.นี้ไม่ใช่การบ้าน
2.กรุณาอย่าตอบว่า "
มันก็มาจากการทดลอง จำๆไปเถอะ"ขอบคุณสำหรับคำตอบมากๆครับ🙏😭
ไม่เข้าใจเลยมาตั้งกระทู้ครับ
ถ้าเขียนผิดตรงไหน หรือ ดูเป็นคำถามที่โง่ไปหน่อย ก็ขออภัยด้วยครับ😥