A. โครงการซื้อหุ้นคืน
เฉลี่ยราคา 5,000.00/385.00 = 12.987 บาทต่อหุ้น
ตามหลักการหลังครบกำหนดซื้อหุ้นคืน ต้องจำหน่ายเมื่อครบกำหนด 6 เดือน ประมาณ ต้นเดือน กันยายน 2563
B. ผลซื้อหุ้นคืน
ก. วันแรกซื้อหุ้นคืน
ข. วันสุดท้ายซื้อหุ้นคืน
ผลซื้อหุ้นคืน
(๑) วันสุดท้าย 21/11/2562 ก่อนวันครบกำหนด 10/3/2563
(๒) จำนวนหุ้นซื้อคืนได้ไม่ครบเป้า 385,000,000 หน่วย ได้เพียง 87,344,000 หน่วย หรือ 22.69% ของเป้า
(๓) มูลค่ารวมหุ้นซื้อคืน 1,155,816,670.00 บาท น้อยกว่าเป้า 5,000,000,000 บาท เป็นจำนวนเงิน
1,155,816,670.00 - 5,000,000,000.00 = -3,844,183,330.00 บาท
(๔) ราคาเฉลี่ยหุ้นซื้อคืน "1,155.81667/87.344 = 13.2329 บาทต่อหุ้น
หลัง 21/11/2562 ไม่มีประกาศยุติซื้อหุ้นคืน ถึงวันครบกำหนด 10/3/2563 จนกระทั้ง
C. มติคณะกรรมผู้บริหาร
ก. ขายผ่าน ตลท
ประชุมคณะกรรมการ 28/8/2563 มีมติให้จำหน่วยหุ้นซื้คืนจากการเสนอซื้อขายผ่าน ตลท เริ่มต้น 14 - 18/9/2563 ปรากฏไม่มีการขายหุ้นผ่าน ตลท
ข. ลดทุนจดทะเบียน
ในวันครบกำหนด 18/9/2563 ได้ประกาศเปลี่ยนแปลงเป็น "ลดทุนจดทะเบียน" แทน
D. ผลกระทบ
ก. ขายหุ้นผ่าน ตลท บนสมมติฐาน ณ ราคาปัจจุบัน 6.20
(๑) ได้เงินสด "87.344*6.20 = 541.53 ล้านบาท"
(๒) ขาดทุน "541.53 - 1,155,82 = -614.29"
(๓) ทุนจดทะเบียนชำระแล้ว 5,161,925,515 หุ้น ลดลงเหลือ "5,161,925,515 - 87,344,000 = 5,074,582,519 หุ้น"
(๔) ส่วนเกิน ณ 30/6/2563 จำนวนเงิน 15,372.44 ล้านบาท ลดลงตามจำนวนเงินขาดทุนเหลือ "15,372.44 - 614.29 = 14,758.15 ล้านบาท"
(๕) ส่วนผู้ถือหุ้น ณ 30/6/2563 ลดลงจาก 56,361.12 ล้านบาท เหลือ "56,361.12 - 614.29 = 55,746.83 ล้าบาท"
หรือ
ข. ลดทุนจดทะเบียน
(๑) ได้เงินสด "สูญ" ไม่มี
(๒) ทุนจดทะเบียนชำระแล้ว 5,161,925,515 หุ้น ลดลงเหลือ "5,161,925,515 - 87,344,000 = 5,074,582,519 หุ้น"
(๓) ต้นทุนเฉลี่ยหุ้นซื้อคืน 13.2329 สูงกว่าราคาพาร์ 1.00 บาท เท่ากับได้ซื้อหุ้นคืนที่ราคาสูงกว่า "1.00 - 13.2329 = 12.2329 บาทต่อหุ้น
เป็นจำนวนเงินทั้งสิ้น 87.344*12.2329 = 1,068.47 ล้านบาท" ไปลด
(๔) ส่วนเกิน ณ 30/6/2563 จำนวนเงิน 15,372.44 ล้านบาท ลดลงด้วย -1,068.47 ล้านบาท ข้อ (๓) เหลือ 14,303.97 ล้านบาท
(๕) ส่วนผู้ถือหุ้น ณ 30/6/2563 ลดลงจาก 56,361.12 ล้านบาท เหลือ "56,361.12 - 1,068.47 = 55,292.65 ล้าบาท"
ข้อสังเกตุในกรณี kbank & banpu ที่เหลือไม่จำนวนหุ้นคืนผ่าน ตลท แต่ นำมาลดทุนจดทะเบียน ซึ่งไม่น่าเป็นจุดประสงค์ในการซื้อหุ้นคืนเพื่อบริหารจัดการการเงิน น่าจะเกิดจากสาเหตุ
(๑) ครบกำหนดที่ต้องจำหน่วยหุ้นซื้อคืนตามกฏเกณฑ์ กลต/ตลด ไม่มีทางเลือกนอกจาก "ลดทุนจดทะเบียน"
(๒) ราคาในกระดานได้ไหลลงมาตลอดทาง ถ้านำมาขายในกระดานจะยิ่งส่งผลลบต่อราคาในกระดาน
(๓) ถ้าไม่มีหลักเกณฑ์ซื้อหุ้นคืน ทั้ง kbank & banpu น่าจะถือต่อรอขายเมื่อราคาในกระดานเป็นขาขึ้น
ท้ายสุดน่าจะนำกรณี kbank & banpu เป็นอุทาหรณ์ ระมัดระหวังในการเล่นขาลง โดยเฉพาะ ถั่วหุ้น คิดว่าได้ของถูกยังมีของถูกกว่า ซึ่งได้เกิด
ขึ้นกับ banpu ต้องยุติการซื้อคืนก่อนครบกำหนดจำนวนเงิน และ ระยะเวลา ไม่แล้วจะเสียหายมากขึ้น
ขอให้โชคดี รวยๆช่วงวิกฤติ COVID-19
ด้วยความปรารถนาดี
ปล : ผิดพลาดประกาศใดๆ ขออภัยด้วย
BANPU : ผลกระทบจากการ "ไม่ขายหุ้นที่ซื้อคืนโดยนำมาลดทุนจดทะเบียน" แทน
เฉลี่ยราคา 5,000.00/385.00 = 12.987 บาทต่อหุ้น
ตามหลักการหลังครบกำหนดซื้อหุ้นคืน ต้องจำหน่ายเมื่อครบกำหนด 6 เดือน ประมาณ ต้นเดือน กันยายน 2563
B. ผลซื้อหุ้นคืน
ก. วันแรกซื้อหุ้นคืน
ข. วันสุดท้ายซื้อหุ้นคืน
ผลซื้อหุ้นคืน
(๑) วันสุดท้าย 21/11/2562 ก่อนวันครบกำหนด 10/3/2563
(๒) จำนวนหุ้นซื้อคืนได้ไม่ครบเป้า 385,000,000 หน่วย ได้เพียง 87,344,000 หน่วย หรือ 22.69% ของเป้า
(๓) มูลค่ารวมหุ้นซื้อคืน 1,155,816,670.00 บาท น้อยกว่าเป้า 5,000,000,000 บาท เป็นจำนวนเงิน
1,155,816,670.00 - 5,000,000,000.00 = -3,844,183,330.00 บาท
(๔) ราคาเฉลี่ยหุ้นซื้อคืน "1,155.81667/87.344 = 13.2329 บาทต่อหุ้น
หลัง 21/11/2562 ไม่มีประกาศยุติซื้อหุ้นคืน ถึงวันครบกำหนด 10/3/2563 จนกระทั้ง
C. มติคณะกรรมผู้บริหาร
ก. ขายผ่าน ตลท
ประชุมคณะกรรมการ 28/8/2563 มีมติให้จำหน่วยหุ้นซื้คืนจากการเสนอซื้อขายผ่าน ตลท เริ่มต้น 14 - 18/9/2563 ปรากฏไม่มีการขายหุ้นผ่าน ตลท
ข. ลดทุนจดทะเบียน
ในวันครบกำหนด 18/9/2563 ได้ประกาศเปลี่ยนแปลงเป็น "ลดทุนจดทะเบียน" แทน
D. ผลกระทบ
ก. ขายหุ้นผ่าน ตลท บนสมมติฐาน ณ ราคาปัจจุบัน 6.20
(๑) ได้เงินสด "87.344*6.20 = 541.53 ล้านบาท"
(๒) ขาดทุน "541.53 - 1,155,82 = -614.29"
(๓) ทุนจดทะเบียนชำระแล้ว 5,161,925,515 หุ้น ลดลงเหลือ "5,161,925,515 - 87,344,000 = 5,074,582,519 หุ้น"
(๔) ส่วนเกิน ณ 30/6/2563 จำนวนเงิน 15,372.44 ล้านบาท ลดลงตามจำนวนเงินขาดทุนเหลือ "15,372.44 - 614.29 = 14,758.15 ล้านบาท"
(๕) ส่วนผู้ถือหุ้น ณ 30/6/2563 ลดลงจาก 56,361.12 ล้านบาท เหลือ "56,361.12 - 614.29 = 55,746.83 ล้าบาท"
หรือ
ข. ลดทุนจดทะเบียน
(๑) ได้เงินสด "สูญ" ไม่มี
(๒) ทุนจดทะเบียนชำระแล้ว 5,161,925,515 หุ้น ลดลงเหลือ "5,161,925,515 - 87,344,000 = 5,074,582,519 หุ้น"
(๓) ต้นทุนเฉลี่ยหุ้นซื้อคืน 13.2329 สูงกว่าราคาพาร์ 1.00 บาท เท่ากับได้ซื้อหุ้นคืนที่ราคาสูงกว่า "1.00 - 13.2329 = 12.2329 บาทต่อหุ้น
เป็นจำนวนเงินทั้งสิ้น 87.344*12.2329 = 1,068.47 ล้านบาท" ไปลด
(๔) ส่วนเกิน ณ 30/6/2563 จำนวนเงิน 15,372.44 ล้านบาท ลดลงด้วย -1,068.47 ล้านบาท ข้อ (๓) เหลือ 14,303.97 ล้านบาท
(๕) ส่วนผู้ถือหุ้น ณ 30/6/2563 ลดลงจาก 56,361.12 ล้านบาท เหลือ "56,361.12 - 1,068.47 = 55,292.65 ล้าบาท"
ข้อสังเกตุในกรณี kbank & banpu ที่เหลือไม่จำนวนหุ้นคืนผ่าน ตลท แต่ นำมาลดทุนจดทะเบียน ซึ่งไม่น่าเป็นจุดประสงค์ในการซื้อหุ้นคืนเพื่อบริหารจัดการการเงิน น่าจะเกิดจากสาเหตุ
(๑) ครบกำหนดที่ต้องจำหน่วยหุ้นซื้อคืนตามกฏเกณฑ์ กลต/ตลด ไม่มีทางเลือกนอกจาก "ลดทุนจดทะเบียน"
(๒) ราคาในกระดานได้ไหลลงมาตลอดทาง ถ้านำมาขายในกระดานจะยิ่งส่งผลลบต่อราคาในกระดาน
(๓) ถ้าไม่มีหลักเกณฑ์ซื้อหุ้นคืน ทั้ง kbank & banpu น่าจะถือต่อรอขายเมื่อราคาในกระดานเป็นขาขึ้น
ท้ายสุดน่าจะนำกรณี kbank & banpu เป็นอุทาหรณ์ ระมัดระหวังในการเล่นขาลง โดยเฉพาะ ถั่วหุ้น คิดว่าได้ของถูกยังมีของถูกกว่า ซึ่งได้เกิด
ขึ้นกับ banpu ต้องยุติการซื้อคืนก่อนครบกำหนดจำนวนเงิน และ ระยะเวลา ไม่แล้วจะเสียหายมากขึ้น
ขอให้โชคดี รวยๆช่วงวิกฤติ COVID-19
ด้วยความปรารถนาดี
ปล : ผิดพลาดประกาศใดๆ ขออภัยด้วย