นาซาเผย 43 วัน นับจากนี้ มี ดาวเคราะห์น้อยเฉียดโลก 8 ดวง ระทึกสุด ใกล้แค่ 7.1 หมื่น กม. 1ก.ย. ตอน 5 ทุ่ม
โดยวันที่ 17 กรกฎาคม 2563 นายวิมุติ วสะหลาย ฝ่ายวิชาการ สมาคมดาราศาสตร์ไทย เปิดเผยว่า เมื่อเร็วๆนี้ องค์กรบริหารการบินและอวกาศแห่งชาติสหรัฐอเมริกา หรือนาซา ได้เปิดเผยข้อมูลวัตถุใกล้โลกที่จะเฉียดโลกในช่วง 60 วัน หลังจากนี้ มีดังต่อไปนี้
19 กรกฎาคม 2563 วัตถุชื่อ 2016 DY30 เข้าใกล้โลกในระยะ 766,198 กิโลเมตร ในเวลา 12.32 น. เคลื่อนที่ ด้วยความเร็ว 15.1 กิโลเมตร ต่อวินาที
(Cr.
https://www.firstpost.com/tech/science/two-space-rocks-to-safely-whiz-past-earth-on-19-july-as-per-nasas-asteroid-threat-monitor-8610701.html)
21 กรกฎาคม 2563 วัตถุชื่อ 2002 BF25 เข้าใกล้โลกในระยะ 3,617,570 กิโลเมตร ในเวลา 09.56 น. เคลื่อนที่ ด้วยความเร็ว 6.8 กิโลเมตร ต่อวินาที
22 กรกฎาคม 2563 วัตถุชื่อ 2020 NO เข้าใกล้โลกในระยะ 776,916 กิโลเมตร ในเวลา 11.34 น. เคลื่อนที่ด้วยความเร็ว 7.7 กิโลเมตร ต่อวินาที
28 กรกฎาคม 2563 วัตถุชื่อ 202 NZ เข้าใกล้โลกในระยะ 3,085,337 กิโลเมตร ในเวลา 08.00 น. เคลื่อนที่ด้วยความเร็ว 7.8 กิโลเมตร ต่อวินาที
29 กรกฎาคม 2563 วัตถุชื่อ 2030 MX3 เข้าใกล้โลกในระยะ 3,609,943 กิโลเมตร ในเวลา 23.38 น. เคลื่อนที่ด้วยความเร็ว 8.5 กิโลเมตร ต่อวินาที
31 กรกฎาคม 2563 วัตถุชื่อ 2018 PY7 เข้าใกล้โลกในระยะ 2,984,906 กิโลเมตร ในเวลา 13.32 น. เคลื่อนที่ด้วยความเร็ว 9.5 กิโลเมตร ต่อวินาที
4 สิงหาคม 2563 วัตถุชื่อ 2018 BD เข้าใกล้โลกในระยะ 1,454,589 กิโลเมตร ในเวลา 06.36 น. เคลื่อนที่ด้วยความเร็ว 9.4 กิโลเมตร ต่อวินาที
(Cr.
https://en.wikipedia.org/wiki/2018_BD)
1 กันยายน 2563 วัตถุชื่อ 2011 ES4 เข้าใกล้โลกในระยะ 71,645 กิโลเมตร ในเวลา 23.12 น. เคลื่อนที่ด้วยความเร็ว 8.2 กิโลเมตร ต่อวินาที
(Cr.
https://newsbeezer.com/india/asteroid-2011-es4-will-pass-earth-closer-than-the-moon/)
ฝ่ายวิชาการสมาคมดาราศาสตร์ กล่าวว่า อย่างไรก็ตาม ข้อมูลดังกล่าว ไม่มีอะไรน่ากังวลเพราะในแต่ละวันนั้นมีวัตถุท้องฟ้า ที่โคจรเฉียดไปเฉียดมากับโลกมากมาย ซึ่งข้อมูลทั้งหมดนี้ถือเป็นรายงานเพื่อการเฝ้าระวังกับวัตถุอวกาศที่เข้าใกล้โลกในช่วง 60 วัน เฉพาะดวงที่จะเฉียดในระยะ 10 เท่าของระยะโลก-ดวงจันทร์ ซึ่งระยะห่างจากโลกกับดวงจันทร์นั้นอยู่ที่ 384,403 กิโลเมตร
“ปกติแล้วนาซาจะแสดงตัวเลขของวัตถุทุกชนิดที่โคจรเข้าใกล้โลกอยู่แล้ว โดยเคยมีวัตถุที่เข้าใกล้โลกมากๆชนิดที่ถากบรรยากาศของโลกแล้วกระเด็นหลุดออกไปก็เคยมีมาแล้ว กรณีนี้ก็ยังไม่ถือว่าเป็นอันตรายกับโลก เพราะหากวัตถุ หรือดาวเคราะห์น้อยดวงใดเข้าข่ายอันตรายกับโลกนาซาจะต้องออกมาเตือนแล้ว จึงไม่ต้องเป็นกังวล”นายวิมุติ กล่าว
Cr.ภาพจาก NASAGoddardUniversity of ArizonaLockheed Martin
Cr.
https://www.matichon.co.th/news-monitor/news_2270273
Cr.
https://newsbeezer.com/thailandeng/nasa-says-the-next-8-earth-asteroids-will-be-as-close-as-7-1-billion-km-in-43-days-september-1-at-7-p-m/
ขอขอบคุณที่มาของข้อมูลทั้งหมด
นาซาเผย 43 วัน นับจากนี้มีดาวเคราะห์น้อยเฉียดโลก 8 ดวง
โดยวันที่ 17 กรกฎาคม 2563 นายวิมุติ วสะหลาย ฝ่ายวิชาการ สมาคมดาราศาสตร์ไทย เปิดเผยว่า เมื่อเร็วๆนี้ องค์กรบริหารการบินและอวกาศแห่งชาติสหรัฐอเมริกา หรือนาซา ได้เปิดเผยข้อมูลวัตถุใกล้โลกที่จะเฉียดโลกในช่วง 60 วัน หลังจากนี้ มีดังต่อไปนี้
19 กรกฎาคม 2563 วัตถุชื่อ 2016 DY30 เข้าใกล้โลกในระยะ 766,198 กิโลเมตร ในเวลา 12.32 น. เคลื่อนที่ ด้วยความเร็ว 15.1 กิโลเมตร ต่อวินาที
(Cr.https://www.firstpost.com/tech/science/two-space-rocks-to-safely-whiz-past-earth-on-19-july-as-per-nasas-asteroid-threat-monitor-8610701.html)
21 กรกฎาคม 2563 วัตถุชื่อ 2002 BF25 เข้าใกล้โลกในระยะ 3,617,570 กิโลเมตร ในเวลา 09.56 น. เคลื่อนที่ ด้วยความเร็ว 6.8 กิโลเมตร ต่อวินาที
22 กรกฎาคม 2563 วัตถุชื่อ 2020 NO เข้าใกล้โลกในระยะ 776,916 กิโลเมตร ในเวลา 11.34 น. เคลื่อนที่ด้วยความเร็ว 7.7 กิโลเมตร ต่อวินาที
28 กรกฎาคม 2563 วัตถุชื่อ 202 NZ เข้าใกล้โลกในระยะ 3,085,337 กิโลเมตร ในเวลา 08.00 น. เคลื่อนที่ด้วยความเร็ว 7.8 กิโลเมตร ต่อวินาที
29 กรกฎาคม 2563 วัตถุชื่อ 2030 MX3 เข้าใกล้โลกในระยะ 3,609,943 กิโลเมตร ในเวลา 23.38 น. เคลื่อนที่ด้วยความเร็ว 8.5 กิโลเมตร ต่อวินาที
31 กรกฎาคม 2563 วัตถุชื่อ 2018 PY7 เข้าใกล้โลกในระยะ 2,984,906 กิโลเมตร ในเวลา 13.32 น. เคลื่อนที่ด้วยความเร็ว 9.5 กิโลเมตร ต่อวินาที
4 สิงหาคม 2563 วัตถุชื่อ 2018 BD เข้าใกล้โลกในระยะ 1,454,589 กิโลเมตร ในเวลา 06.36 น. เคลื่อนที่ด้วยความเร็ว 9.4 กิโลเมตร ต่อวินาที
(Cr.https://en.wikipedia.org/wiki/2018_BD)
1 กันยายน 2563 วัตถุชื่อ 2011 ES4 เข้าใกล้โลกในระยะ 71,645 กิโลเมตร ในเวลา 23.12 น. เคลื่อนที่ด้วยความเร็ว 8.2 กิโลเมตร ต่อวินาที
(Cr.https://newsbeezer.com/india/asteroid-2011-es4-will-pass-earth-closer-than-the-moon/)
ฝ่ายวิชาการสมาคมดาราศาสตร์ กล่าวว่า อย่างไรก็ตาม ข้อมูลดังกล่าว ไม่มีอะไรน่ากังวลเพราะในแต่ละวันนั้นมีวัตถุท้องฟ้า ที่โคจรเฉียดไปเฉียดมากับโลกมากมาย ซึ่งข้อมูลทั้งหมดนี้ถือเป็นรายงานเพื่อการเฝ้าระวังกับวัตถุอวกาศที่เข้าใกล้โลกในช่วง 60 วัน เฉพาะดวงที่จะเฉียดในระยะ 10 เท่าของระยะโลก-ดวงจันทร์ ซึ่งระยะห่างจากโลกกับดวงจันทร์นั้นอยู่ที่ 384,403 กิโลเมตร
“ปกติแล้วนาซาจะแสดงตัวเลขของวัตถุทุกชนิดที่โคจรเข้าใกล้โลกอยู่แล้ว โดยเคยมีวัตถุที่เข้าใกล้โลกมากๆชนิดที่ถากบรรยากาศของโลกแล้วกระเด็นหลุดออกไปก็เคยมีมาแล้ว กรณีนี้ก็ยังไม่ถือว่าเป็นอันตรายกับโลก เพราะหากวัตถุ หรือดาวเคราะห์น้อยดวงใดเข้าข่ายอันตรายกับโลกนาซาจะต้องออกมาเตือนแล้ว จึงไม่ต้องเป็นกังวล”นายวิมุติ กล่าว
Cr.ภาพจาก NASAGoddardUniversity of ArizonaLockheed Martin
Cr. https://www.matichon.co.th/news-monitor/news_2270273
Cr.https://newsbeezer.com/thailandeng/nasa-says-the-next-8-earth-asteroids-will-be-as-close-as-7-1-billion-km-in-43-days-september-1-at-7-p-m/
ขอขอบคุณที่มาของข้อมูลทั้งหมด