รู้หมด บ้านไหนจน บ้านไหนรวย บ้านไหนมีที่ดินเท่าไหร่ มีทองฝังอยู่ในไหกี่เส้น มีเมียกี่คน มีลูกกี่คน เรียนที่ไหนบ้าง มีผัวมีลูกแล้วยัง ทำงานเงินเดือนทะไหร่ ฯลฯ
ถ้าหมู่บ้านมี 100 หลังคาเรือนให้เรียงลำดับความรวยจาก 1-100 คนในหมู่บ้านเกินครึ่งเชื่อว่าทำได้ ไม่ถูกต้อง 100 % แต่ก็ใกล้เคียงล่ะ
อาจมีเคืองกันนิดหน่อยถ้าบ้านตัวเองถูดจัดลำดับต่ำกว่าเพื่อนบ้านที่ไม่กินเส้นกัน ก็นะ ใครๆก็อยากมีหน้ามีตา แต่ ...
ถ้าการแจกเงินของรัฐเรียงลำดับจากจนกว่าขึ้นมาล่ะ ไม่มีหน้ามีตาแต่ได้เงินนะจ๊ะ แฮ่... อย่างนี้ก็อาจพอรับได้ที่จนกว่า 555+
ปัจจุบันเวลารัฐแจกเงินไม่ว่าบัตรคนจน หรือ งบ 5,000 สู้ COVID ก็ตาม ต้องให้ประชาชนเป็นฝ่ายสมัครเข้ามาแล้วทำการคัดกรองอีกที เพราะเราไม่มีระบบ
Big Data ที่จะตรวจสอบได้เอง ทำให้มีปัญหามากมายอย่างที่เป็นข่าว ไม่นับคนที่เข้าไม่ถึงหรือตกหล่นก็น่าจะมหาศาลที่ไม่เป็นข่าวแต่งบหมดแล้ว
ถ้าทำเป็นกระเป๋าเงินอิเล็กทรอนิกส์ของหมู่บ้านแทนกระเป๋าเงินอิเล็กทรอนิกส์รายบุคคล น่าจะตอบโจทย์การแจกที่ถึงกลุ่มเป้าหมายก่า และหมู่บ้านมีแค่ 7 หมื่นกว่าแห่งทั่วไทยคงไม่เกินกำลังทีมพัฒนา ดีกว่าไปยุ่งกะคนตั้ง 70 กว่าล้าน งานง่ายกว่ากันเป็นพันเท่า
1. กระเป๋าเงินอิเล็กทรอนิกส์หมู่บ้าน แก้ปัญหางบตกหล่นระหว่างทางจากส่วนกลางไปหมู่บ้าน โอนเท่าไหร่เข้าเท่านั้น ไม่โดนหักหัวคิว
2. หมู่บ้านมีข้อมูลที่ถูกต้องแม่นยำกว่าส่วนกลางในแง่ฐานะของคนในหมู่บ้านตัวเอง ครัวเรือนไหนรวย ครัวเรือนไหนจน รู้กันหมด เขาอยู่กันมาเป็น สิบๆปี
3. การหักหัวคิวของคนดูแลเงินกองกลางหมู่บ้านอย่าง กองทุนหมู่บ้าน หรือ กระเป๋าเงินอิเล็กทรอนิกส์หมู่บ้าน ไม่ได้หมูตู้สำหรับยุคสมัยที่ชาวบ้านมี Face มี Line กันทั้งหมู่บ้านแล้ว ส่วนกลางควรเปิดโลกทัศน์เสียใหม่
4. ลดความไม่พอใจสำหรับผู้ที่ไม่ได้เงิน เขาก็ต้องไปทวงสิทธิ์จากทีมบริหารกระเป๋าอิเล็กทรอนิกส์ของหมู่บ้าน แทนมานั่งด่ารัฐบาลเพราะงบโอนมาแล้ว
5.ถึงเวลาที่ควรเชื่อได้แล้วว่าระดับหมู่บ้านเรื่องแค่นี้เขาบริหารจัดการกันเองได้
แม่กระผมที่บ้านนอกอายุ 60 กว่า เล่น Face เล่น Line เก่งกว่าผมซะอีก รัฐมีโครงการไรรู้หมด ถ้าถูกหักหัวคิวมีรึจะไม่รู้ รู้กันทั้ง Face ทั้ง Line มีรีจะไม่โวย
ไม่ใช่ยุคปืนเถื่อนที่จะโวยแล้วเจอปืนได้อีกเพราะมันหยียบไม่มิดปิดไม่ได้ง่ายเหมือนแต่ก่อน แล้วท่านแม่ก็เป็นเจ้าหน้าที่ อสม. แต่คอยตั้งด่าน ตรวจตราคนในหมู่บ้านอย่างเข้มแข็ง จนประเทศไทยได้รับการยกย่องไปทั้งโลกว่าสู้ COVID ได้ดีส่วนหนึ่งเพราะ อาสาสมัครสาธารณะสุขประจำหมู่บ้าน ด้วย
เป็นใบเสร็จการันตีว่างานระดับชาวบ้านเดี๋ยวนี้เขาก็ทำกันได้ดีใช้ได้
สรุป: รัฐได้ใช้งบประมาณตรงกลุ่มเป้าหมาย คนเดือดร้อนได้รับการช่วยเหลือจริง ทำได้จริงในเวลาที่จำกัดเพราะไม่ใช่ Big Data ขนาดใหญ่ที่ต้องใช้เวลาพัฒนามากมาย ฝึกชุมชนท้องถิ่นให้บริหารงบประมาณจัดการชีวิตความเป็นอยู่กันเอง ชุมชนเข้มแข็ง หวังพึ่งตัวเอง มากกว่ามาปีนต้นไม้หน้ารัฐสภา
แชร์ความเห็นกันครับ
(BIG DATA )คนไทยในชนบทหมู่บ้านเดียวกัน ถ้าให้จัดลำดับฐานะของคนในหมู่บ้านตัวเองผมว่าเก่งเลยแหละ เก่งมากด้วย
ถ้าหมู่บ้านมี 100 หลังคาเรือนให้เรียงลำดับความรวยจาก 1-100 คนในหมู่บ้านเกินครึ่งเชื่อว่าทำได้ ไม่ถูกต้อง 100 % แต่ก็ใกล้เคียงล่ะ
อาจมีเคืองกันนิดหน่อยถ้าบ้านตัวเองถูดจัดลำดับต่ำกว่าเพื่อนบ้านที่ไม่กินเส้นกัน ก็นะ ใครๆก็อยากมีหน้ามีตา แต่ ...
ถ้าการแจกเงินของรัฐเรียงลำดับจากจนกว่าขึ้นมาล่ะ ไม่มีหน้ามีตาแต่ได้เงินนะจ๊ะ แฮ่... อย่างนี้ก็อาจพอรับได้ที่จนกว่า 555+
ปัจจุบันเวลารัฐแจกเงินไม่ว่าบัตรคนจน หรือ งบ 5,000 สู้ COVID ก็ตาม ต้องให้ประชาชนเป็นฝ่ายสมัครเข้ามาแล้วทำการคัดกรองอีกที เพราะเราไม่มีระบบ
Big Data ที่จะตรวจสอบได้เอง ทำให้มีปัญหามากมายอย่างที่เป็นข่าว ไม่นับคนที่เข้าไม่ถึงหรือตกหล่นก็น่าจะมหาศาลที่ไม่เป็นข่าวแต่งบหมดแล้ว
ถ้าทำเป็นกระเป๋าเงินอิเล็กทรอนิกส์ของหมู่บ้านแทนกระเป๋าเงินอิเล็กทรอนิกส์รายบุคคล น่าจะตอบโจทย์การแจกที่ถึงกลุ่มเป้าหมายก่า และหมู่บ้านมีแค่ 7 หมื่นกว่าแห่งทั่วไทยคงไม่เกินกำลังทีมพัฒนา ดีกว่าไปยุ่งกะคนตั้ง 70 กว่าล้าน งานง่ายกว่ากันเป็นพันเท่า
1. กระเป๋าเงินอิเล็กทรอนิกส์หมู่บ้าน แก้ปัญหางบตกหล่นระหว่างทางจากส่วนกลางไปหมู่บ้าน โอนเท่าไหร่เข้าเท่านั้น ไม่โดนหักหัวคิว
2. หมู่บ้านมีข้อมูลที่ถูกต้องแม่นยำกว่าส่วนกลางในแง่ฐานะของคนในหมู่บ้านตัวเอง ครัวเรือนไหนรวย ครัวเรือนไหนจน รู้กันหมด เขาอยู่กันมาเป็น สิบๆปี
3. การหักหัวคิวของคนดูแลเงินกองกลางหมู่บ้านอย่าง กองทุนหมู่บ้าน หรือ กระเป๋าเงินอิเล็กทรอนิกส์หมู่บ้าน ไม่ได้หมูตู้สำหรับยุคสมัยที่ชาวบ้านมี Face มี Line กันทั้งหมู่บ้านแล้ว ส่วนกลางควรเปิดโลกทัศน์เสียใหม่
4. ลดความไม่พอใจสำหรับผู้ที่ไม่ได้เงิน เขาก็ต้องไปทวงสิทธิ์จากทีมบริหารกระเป๋าอิเล็กทรอนิกส์ของหมู่บ้าน แทนมานั่งด่ารัฐบาลเพราะงบโอนมาแล้ว
5.ถึงเวลาที่ควรเชื่อได้แล้วว่าระดับหมู่บ้านเรื่องแค่นี้เขาบริหารจัดการกันเองได้
แม่กระผมที่บ้านนอกอายุ 60 กว่า เล่น Face เล่น Line เก่งกว่าผมซะอีก รัฐมีโครงการไรรู้หมด ถ้าถูกหักหัวคิวมีรึจะไม่รู้ รู้กันทั้ง Face ทั้ง Line มีรีจะไม่โวย
ไม่ใช่ยุคปืนเถื่อนที่จะโวยแล้วเจอปืนได้อีกเพราะมันหยียบไม่มิดปิดไม่ได้ง่ายเหมือนแต่ก่อน แล้วท่านแม่ก็เป็นเจ้าหน้าที่ อสม. แต่คอยตั้งด่าน ตรวจตราคนในหมู่บ้านอย่างเข้มแข็ง จนประเทศไทยได้รับการยกย่องไปทั้งโลกว่าสู้ COVID ได้ดีส่วนหนึ่งเพราะ อาสาสมัครสาธารณะสุขประจำหมู่บ้าน ด้วย
เป็นใบเสร็จการันตีว่างานระดับชาวบ้านเดี๋ยวนี้เขาก็ทำกันได้ดีใช้ได้
สรุป: รัฐได้ใช้งบประมาณตรงกลุ่มเป้าหมาย คนเดือดร้อนได้รับการช่วยเหลือจริง ทำได้จริงในเวลาที่จำกัดเพราะไม่ใช่ Big Data ขนาดใหญ่ที่ต้องใช้เวลาพัฒนามากมาย ฝึกชุมชนท้องถิ่นให้บริหารงบประมาณจัดการชีวิตความเป็นอยู่กันเอง ชุมชนเข้มแข็ง หวังพึ่งตัวเอง มากกว่ามาปีนต้นไม้หน้ารัฐสภา
แชร์ความเห็นกันครับ