.
18 พฤษภาคม 1980
ภูเขาไฟ
St. Helen ที่ตั้งอยู่ในรัฐวอชิงตัน
เกิดการระเบิดขึ้นมาซึ่งนับว่า
เป็นหนึ่งในเหตุการณ์ที่เลวร้ายที่สุดขอบสหรัฐฯ
ในเวลาเพียงไม่กี่ชั่วโมง
ทางทิศเหนือบริเวณด้านหน้าของภูเขาไฟ
เกิดแผ่นดินถล่มครั้งยิ่งใหญ่
กลายเป็นซากปรักหักพังที่ใหญ่ที่สุด
เพราะได้กวาดเอาต้นไม้เศษดินหิน
ลงไปที่ด้านล่างอย่างรวดเร็ว
ลงไปสู่ทะเลสาบโดยรอบ
และ
Fork Fork Toutle River
ทางทิศตะวันออกระยะทางราว 27 กิโลเมตร
Spirit Lake ซึ่งตั้งอยู่ห่างราว 5 ไมล์
ทางตะวันออกเฉียงเหนือของปล่องภูเขาไฟ
ได้รับผลกระทบอย่างแรงจากเหตุการณ์ครั้งนี้
ต้นไม้ประมาณ 1 ล้านต้น
ถูกพัดปลิวจากเนินเขาโดยรอบ
จากคลื่นภูเขาไฟที่ระเบิด
พร้อมกับลาวาความร้อนสูง
เถ้าถ่านและหินจากภูเขาไฟ
ได้กวาดต้นไม้จำนวนมากไหลลง
ที่ Spirit Lake ลงไปแทนที่น้ำในทะเลสาบ
ทำให้เกิดคลื่นสูงราว 600 ฟุต
ชนเข้ากับสันเขาทางเหนือของทะเลสาบ
ขณะที่คลื่นน้ำไหลขึ้นด้านบน
ตอนไหลกลับลงมาที่ทะเลสาบ
ก็ได้กวาดเอาต้นไม้อีกหลายหมื่นต้น
ลงมาในทะเลสาบอีกครั้งด้วย
ต้นไม้ขนาดใหญ่ในพื้นที่
ประมาณ 350,000 เอเคอร์(875,000 ไร่)
ถูกกวาดลงไปที่ทะเลสาบ Spirit Lake
นับจำนวนได้มากมายมหาศาล
กองกันเป็นแพซุงขนาดใหญ่
ลอยอยู่เหนือผิวน้ำทะเลสาบจนถึงทุกวันนี้
นานกว่า 3 ทศวรรษแล้ว
หลังจากเหตุการณ์เลวร้ายครั้งนั้น
ก่อนหน้าที่จะมีการปะทุของ
ภูเขาไฟ เซนต์เฮเลนส์ St. Helens
Spirit Lake คือ แหล่งน้ำที่สวยสดงดงาม
เป็นที่รู้จักกันดีว่าเป็นสถานที่พักผ่อนหย่อนใจ
มีค่ายพักแรม 6 แห่งบนชายฝั่ง
และยังมีบ้านพักอีกจำนวนหนึ่ง
ทุกวันนี้ทะเลสาบแห่งนี้
กลายเป็นพื้นที่รกร้างว่างเปล่า
เต็มไปด้วยท่อนไม้จำนวนมากมาย
และเศษซากจากภูเขาไฟจำนวนมาก
ปริมาณเศษหินดินทรายลาวา
จากแรงระเบิดภูเขาไฟในครั้งนั้น
ได้ลดปริมาณพื้นที่ทะเลสาบลง
ราว ๆ 46,000 เอเคอร์(115,000 ไร่)
และลดความลึกเหลือเพียง 80 ฟุต
Lahar และ Pyroclastic flow
ไหลจากการปะทุของภูเขาไฟ
ปิดกั้นช่องทางเข้าออกตามธรรมชาติ
ในหุบเขา North Fork Toutle River
Lahar และ Pyroclastic flows
จะละลายธารน้ำแข็งที่เกิดขึ้นบนภูเขา
น้ำแข็งที่ละลายนี้ผสมรวมเข้ากับ
ฝุ่นและหินกลายมาเป็นโคลนถล่ม
หรือที่เรียกกันว่า ลาฮา (lahar)
มาจากภาษาอินโดนีเซีย
หมายถึงดินที่ไหลลงมา
จากบริเวณภูเขาไฟตามความลาดชัน
สามารถเคลื่อนที่ได้เร็วมาก
ตั้งแต่ 60 – 100 กิโลเมตรต่อชั่วโมง
ความเร็วขนาดนี้คือ
อันตรายและด้วยน้ำหนักที่มากของมัน
เมื่อไหลผ่านถนนก็จะทำให้ถนนเกิดการยุบตัว
หรือหากไหลผ่านแหล่งน้ำ
แหล่งน้ำนั้นๆ ก็จะใช้อุปโภคบริโภคไม่ได้
©
เมื่อภูเขาไฟระเบิด ไม่ใช่แค่ลาวาที่ฆ่าคุณได้
เมื่อนักวิทยาศาสตร์เห็นการทำลายล้างอย่างแรง
และตระหนักว่า Sprit Lake ได้ให้โอกาส
ในการศึกษาทางวิทยาศาสตร์ด้านต่าง ๆ
เรื่องการเปลี่ยนแปลงทางจุลินทรีย์ ทางเคมี
และการฟื้นฟูทางชีวภาพของทะเลสาบ
ที่ได้รับผลกระทบอย่างรุนแรง
จากการระเบิดของภูเขาไฟครั้งใหญ่
ดังนั้น เพื่อให้แน่ใจว่า Spirit Lake
จะได้รับการปกป้องและระบบนิเวศอื่น ๆ
ที่จะฟื้นตัวขึ้นเองขึ้นภายในอนาคต
ภายในพื้นที่ระเบิด 220 ตารางไมล์ของภูเขาไฟ
อนุสรณ์สถานภูเขาไฟแห่งชาติ จึงถูกตั้งขึ้นในปี 1982
Mount St. Helens National Volcanic Monument
ห้ามตกปลาและกิจกรรมสันทนาการอื่น ๆ
ที่อาจขัดขวางการฟื้นตัวของ Spirit Lake
นี่คือหนึ่งในเหตุผลหลักที่ว่า
ทำไมจึงไม่มีการชักลากท่อนซุง
และเศษซากหินหินพัมมิซ กับ
หินสคอเรียที่ลอยอยู่ในทะเลสาบ
.
เรียบเรียง/ที่มา
.
https://bit.ly/2WPiAQd
https://on.doi.gov/3cOGl0e
https://bit.ly/2WKUbv2
https://bit.ly/3dYcEK8
.
.
.
.
การพังทะลายของภูเขาไฟ St. Helen
กับ Spirit Lake (ด้านหน้า)
©
https://bit.ly/2LJnbgm
.
.
.
ต้นไม้ที่ล้มลง วันที่ 18 พฤษภาคม 1980
จากการระเบิดของภูเขาไฟ
Elk Rock คือ ยอดเขาที่อยู่ด้านซ้าย
©
USGS
.
.
.
ต้นไม้นับพันพันต้นในเขตทางน้ำ
แม่น้ำ North Fork Toutle ถูกพัดพาลงมา
ในวันที่ 18 พฤษภาคม 1980
เพราะผลจากการระเบิดของภูเขาไฟ
©
USGS วันที่ 22 สิงหาคม 1980
.
.
.
การล้มลงของต้นไม้จำนวนมากที่หุบเขา Green River
วันที่ 2 มิถุนายน 1980 เป็นผลมาจากการระเบิดของ
ภูเขาไฟ St. Helens วันที่ 18 พฤษภาคม 1980
©
USGS
.
.
.
ท่อนซุงเหนือทะเลสาบ Spirit Lake
2009 ©
https://bit.ly/2yiQCCN
.
.
.
แพซุง 1985
https://bit.ly/2Zk794t
.
.
.
ทางด้านตะวันตกเฉียงใต้ของ Spirit Lake
บริเวณใต้สุด มีท่อนซุงที่ลอยเกลื่อนกลาด
ภายหลังจากที่มีการระบายน้ำออก
เพื่อปรับปรุงคณุภาพน้ำสำหรับพืช/สัตว์น้ำ
ภูเขามีการยกระดับขึ้นมาหลายร้อยฟุต
©
https://bit.ly/2LFXFZt
.
.
.
Spirit Lake ด้านล่าง St. Helens
ในรัฐ Washington State USA
2 ปีหลังจากการระเบิดของภูเขาไฟ
มีร่องรอยการระเบิด/เศษซากท่อนไม้
ที่ลอยอยู่เกลื่อนกลาดบนทะเลสาบ
©
https://bit.ly/36mTVFO
.
.
.
©
https://bit.ly/2ZlqVNa
.
.
.
©
https://bit.ly/2XiuYXI 2012
.
.
.
©
https://bit.ly/2X8z8l2
.
.
.
ถนนตัดผ่ากลางพื้นที่ป่าไม้ ปี 2009
.
.
.
.
.
ตอไม้ที่ตายแล้วบริเวณรอบ ๆ ภูเขา St. Helens
.
.
.
อุโมงค์ระบายน้ำออกจาก Spirit Lake เจาะในปี 1985
และให้คงระดับน้ำในทะเลสาบไว้ที่ 100 ฟุต (30 เมตร)
.
.
.
1980
.
.
.
.
.
.
.
มุมมองจากด้านบน (แพซุงด้านขวามือ)
.
.
.
การเพิ่มขึ้นของธารน้ำแข็ง St. Helens
ทางทิศตะวันออก 23 ธันวาคม 2004
.
.
.
การระเบิดของไอน้ำ (Phreatic) จากปล่องภูเขาไฟ
เมื่อวันที่ 6 เมษายน 1980 ทางทิศตะวันตกเฉียงใต้
.
.
.
รอยนูนด้านทิศเหนือของภูเขาไฟ St. Helens
ที่ก่อตัวเป็นหินหนืดดันขึ้นจุดสูงสุด
ก่อนวันที่ 18 พฤษภาคม 1980
จากทิศตะวันออกเฉียงเหนือ
.
.
.
เศษเล็กเศษน้อยจากการปะทุ
ของภูเขาไฟ St. Helens 18 พค. 1980
ไหลไปทิศตะวันตกเฉียงเหนือ
สู่ North Fork Toutle River valley
.
.
.
เศษซากองไม้ในวันที่ภูเขาไฟระเบิด
.
.
ทางทิศตะวันตกเฉียงใต้
.
.
.
Lahars เกิดจากภูเขาไฟระเบิด
เหลือแต่โคลน/ต้นไม้ ที่ริมแม่น้ำ
มีนักวิทยาศาสตร์ยืนอยู่บนฝั่ง
ของแม่น้ำโคลน ทางตะวันออกเฉียงใต้
.
.
.
Fireweed เติบโตในพื้นที่เสียหาย
ทางทิศเหนือ St. Helens (ฤดูร้อน 1984)
.
.
.
©
https://bit.ly/2ToMVCX
.
.
เรื่องเล่าไร้สาระ
.
ไม้ถ้าแช่ในน้ำ/ฝังดินอยู่ได้นานหลายปี
เช่น ไม้ยางพารา ไม้สน ไม้มะพร้าว ไม้ไผ่
แต่ถ้านำขึ้นมาโดนแดด ไม่นานนัก
มักจะราน/แตกเป็นเสี้ยน/มอดปลวกกิน
จขกท. เคยไปที่เขื่อนบางลาง ยะลา
ช่วงหน้าร้อน จะเห็นต้นไม้ใหญ่ ๆ
ที่จมน้ำอยู่โผล่ขึ้นมาพ้นน้ำ
วิศวกรเขื่อนเล่าให้ฟังว่า
สักพักก็จะมีชาวบ้านมาขอไป
ถ้าโยกให้หลุดลอยได้ก็ทำ
แต่ถ้าโยกไม่ได้ก็จะดำน้ำลงไปตัด
เพื่อนำไม้ไปใช้งานด้านต่าง ๆ
จะห้ามก็ลำบากเพราะอยู่ในพื้นที่
รวมทั้งเขื่อนตอนก่อสร้างเขื่อน
ก็ยังตัดไม้สางไม้ได้ไม่หมด
การที่มีต้นไม้จมในเขื่อนมาก ๆ
อาจจะเกิดอันตรายขึ้นมาได้
เวลาเศษไม้/กิ่งไม้ไหลไปติดสันเขื่อน
และทำให้น้ำเน่าเหม็นมาก ๆ
แบบเขื่อนที่สร้างเสร็จใหม่ ๆ
ส่วนไม้ตะเคียนเป็นไม้เนื้อกลาง
ไม้มีรสขม
เพรียง
ไม่ชอบเกาะเลยนิยมทำเรือรบ
จึงมีตำนานผีสางนางไม้คอย
ไว้คอยหลอกหลอนป้องกันคนตัดไม้
และมีกฏหมายห้ามตัดต้นตะเคียน
เพื่อสงวนไว้กับหลวงเท่านั้น
ทำให้ทรัพยากรประจำท้องถิ่น
คนพื้นที่ได้แต่ยืนเหิด(จ้องมอง)
เพราะตัดต้นไม้ไปใช้ต่อเรือไม่ได้
เป็นอย่างนี้ตั้งแต่เกิดในยุคอดีต
แพซุงขนาดใหญ่ที่สุดในโลก
.
ต้นไม้นับหลายพันที่ลอยเป็นแพซุงขนาดยักษ์
บนพื้นผิวของทะเลสาบ 29 มีนาคม 2007
© https://bit.ly/2zeeTui
.
.
18 พฤษภาคม 1980
ภูเขาไฟ St. Helen ที่ตั้งอยู่ในรัฐวอชิงตัน
เกิดการระเบิดขึ้นมาซึ่งนับว่า
เป็นหนึ่งในเหตุการณ์ที่เลวร้ายที่สุดขอบสหรัฐฯ
ในเวลาเพียงไม่กี่ชั่วโมง
ทางทิศเหนือบริเวณด้านหน้าของภูเขาไฟ
เกิดแผ่นดินถล่มครั้งยิ่งใหญ่
กลายเป็นซากปรักหักพังที่ใหญ่ที่สุด
เพราะได้กวาดเอาต้นไม้เศษดินหิน
ลงไปที่ด้านล่างอย่างรวดเร็ว
ลงไปสู่ทะเลสาบโดยรอบ
และ Fork Fork Toutle River
ทางทิศตะวันออกระยะทางราว 27 กิโลเมตร
Spirit Lake ซึ่งตั้งอยู่ห่างราว 5 ไมล์
ทางตะวันออกเฉียงเหนือของปล่องภูเขาไฟ
ได้รับผลกระทบอย่างแรงจากเหตุการณ์ครั้งนี้
ต้นไม้ประมาณ 1 ล้านต้น
ถูกพัดปลิวจากเนินเขาโดยรอบ
จากคลื่นภูเขาไฟที่ระเบิด
พร้อมกับลาวาความร้อนสูง
เถ้าถ่านและหินจากภูเขาไฟ
ได้กวาดต้นไม้จำนวนมากไหลลง
ที่ Spirit Lake ลงไปแทนที่น้ำในทะเลสาบ
ทำให้เกิดคลื่นสูงราว 600 ฟุต
ชนเข้ากับสันเขาทางเหนือของทะเลสาบ
ขณะที่คลื่นน้ำไหลขึ้นด้านบน
ตอนไหลกลับลงมาที่ทะเลสาบ
ก็ได้กวาดเอาต้นไม้อีกหลายหมื่นต้น
ลงมาในทะเลสาบอีกครั้งด้วย
ต้นไม้ขนาดใหญ่ในพื้นที่
ประมาณ 350,000 เอเคอร์(875,000 ไร่)
ถูกกวาดลงไปที่ทะเลสาบ Spirit Lake
นับจำนวนได้มากมายมหาศาล
กองกันเป็นแพซุงขนาดใหญ่
ลอยอยู่เหนือผิวน้ำทะเลสาบจนถึงทุกวันนี้
นานกว่า 3 ทศวรรษแล้ว
หลังจากเหตุการณ์เลวร้ายครั้งนั้น
ก่อนหน้าที่จะมีการปะทุของ
ภูเขาไฟ เซนต์เฮเลนส์ St. Helens
Spirit Lake คือ แหล่งน้ำที่สวยสดงดงาม
เป็นที่รู้จักกันดีว่าเป็นสถานที่พักผ่อนหย่อนใจ
มีค่ายพักแรม 6 แห่งบนชายฝั่ง
และยังมีบ้านพักอีกจำนวนหนึ่ง
ทุกวันนี้ทะเลสาบแห่งนี้
กลายเป็นพื้นที่รกร้างว่างเปล่า
เต็มไปด้วยท่อนไม้จำนวนมากมาย
และเศษซากจากภูเขาไฟจำนวนมาก
ปริมาณเศษหินดินทรายลาวา
จากแรงระเบิดภูเขาไฟในครั้งนั้น
ได้ลดปริมาณพื้นที่ทะเลสาบลง
ราว ๆ 46,000 เอเคอร์(115,000 ไร่)
และลดความลึกเหลือเพียง 80 ฟุต
Lahar และ Pyroclastic flow
ไหลจากการปะทุของภูเขาไฟ
ปิดกั้นช่องทางเข้าออกตามธรรมชาติ
ในหุบเขา North Fork Toutle River
Lahar และ Pyroclastic flows
จะละลายธารน้ำแข็งที่เกิดขึ้นบนภูเขา
น้ำแข็งที่ละลายนี้ผสมรวมเข้ากับ
ฝุ่นและหินกลายมาเป็นโคลนถล่ม
หรือที่เรียกกันว่า ลาฮา (lahar)
มาจากภาษาอินโดนีเซีย
หมายถึงดินที่ไหลลงมา
จากบริเวณภูเขาไฟตามความลาดชัน
สามารถเคลื่อนที่ได้เร็วมาก
ตั้งแต่ 60 – 100 กิโลเมตรต่อชั่วโมง
ความเร็วขนาดนี้คือ
อันตรายและด้วยน้ำหนักที่มากของมัน
เมื่อไหลผ่านถนนก็จะทำให้ถนนเกิดการยุบตัว
หรือหากไหลผ่านแหล่งน้ำ
แหล่งน้ำนั้นๆ ก็จะใช้อุปโภคบริโภคไม่ได้
© เมื่อภูเขาไฟระเบิด ไม่ใช่แค่ลาวาที่ฆ่าคุณได้
เมื่อนักวิทยาศาสตร์เห็นการทำลายล้างอย่างแรง
และตระหนักว่า Sprit Lake ได้ให้โอกาส
ในการศึกษาทางวิทยาศาสตร์ด้านต่าง ๆ
เรื่องการเปลี่ยนแปลงทางจุลินทรีย์ ทางเคมี
และการฟื้นฟูทางชีวภาพของทะเลสาบ
ที่ได้รับผลกระทบอย่างรุนแรง
จากการระเบิดของภูเขาไฟครั้งใหญ่
ดังนั้น เพื่อให้แน่ใจว่า Spirit Lake
จะได้รับการปกป้องและระบบนิเวศอื่น ๆ
ที่จะฟื้นตัวขึ้นเองขึ้นภายในอนาคต
ภายในพื้นที่ระเบิด 220 ตารางไมล์ของภูเขาไฟ
อนุสรณ์สถานภูเขาไฟแห่งชาติ จึงถูกตั้งขึ้นในปี 1982
Mount St. Helens National Volcanic Monument
ห้ามตกปลาและกิจกรรมสันทนาการอื่น ๆ
ที่อาจขัดขวางการฟื้นตัวของ Spirit Lake
นี่คือหนึ่งในเหตุผลหลักที่ว่า
ทำไมจึงไม่มีการชักลากท่อนซุง
และเศษซากหินหินพัมมิซ กับ
หินสคอเรียที่ลอยอยู่ในทะเลสาบ
.
เรียบเรียง/ที่มา
.
https://bit.ly/2WPiAQd
https://on.doi.gov/3cOGl0e
https://bit.ly/2WKUbv2
https://bit.ly/3dYcEK8
.
.
.
การพังทะลายของภูเขาไฟ St. Helen
กับ Spirit Lake (ด้านหน้า)
© https://bit.ly/2LJnbgm
.
.
.
ต้นไม้ที่ล้มลง วันที่ 18 พฤษภาคม 1980
จากการระเบิดของภูเขาไฟ
Elk Rock คือ ยอดเขาที่อยู่ด้านซ้าย
© USGS
.
.
.
ต้นไม้นับพันพันต้นในเขตทางน้ำ
แม่น้ำ North Fork Toutle ถูกพัดพาลงมา
ในวันที่ 18 พฤษภาคม 1980
เพราะผลจากการระเบิดของภูเขาไฟ
© USGS วันที่ 22 สิงหาคม 1980
.
.
.
การล้มลงของต้นไม้จำนวนมากที่หุบเขา Green River
วันที่ 2 มิถุนายน 1980 เป็นผลมาจากการระเบิดของ
ภูเขาไฟ St. Helens วันที่ 18 พฤษภาคม 1980
© USGS
.
.
.
ท่อนซุงเหนือทะเลสาบ Spirit Lake
2009 © https://bit.ly/2yiQCCN
.
.
.
แพซุง 1985 https://bit.ly/2Zk794t
.
.
.
ทางด้านตะวันตกเฉียงใต้ของ Spirit Lake
บริเวณใต้สุด มีท่อนซุงที่ลอยเกลื่อนกลาด
ภายหลังจากที่มีการระบายน้ำออก
เพื่อปรับปรุงคณุภาพน้ำสำหรับพืช/สัตว์น้ำ
ภูเขามีการยกระดับขึ้นมาหลายร้อยฟุต
© https://bit.ly/2LFXFZt
.
.
.
Spirit Lake ด้านล่าง St. Helens
ในรัฐ Washington State USA
2 ปีหลังจากการระเบิดของภูเขาไฟ
มีร่องรอยการระเบิด/เศษซากท่อนไม้
ที่ลอยอยู่เกลื่อนกลาดบนทะเลสาบ
© https://bit.ly/36mTVFO
.
.
.
© https://bit.ly/2ZlqVNa
.
.
.
© https://bit.ly/2XiuYXI 2012
.
.
.
© https://bit.ly/2X8z8l2
.
.
.
ถนนตัดผ่ากลางพื้นที่ป่าไม้ ปี 2009
.
.
.
.
.
ตอไม้ที่ตายแล้วบริเวณรอบ ๆ ภูเขา St. Helens
.
.
.
อุโมงค์ระบายน้ำออกจาก Spirit Lake เจาะในปี 1985
และให้คงระดับน้ำในทะเลสาบไว้ที่ 100 ฟุต (30 เมตร)
.
.
.
1980
.
.
.
.
.
.
.
มุมมองจากด้านบน (แพซุงด้านขวามือ)
.
.
.
การเพิ่มขึ้นของธารน้ำแข็ง St. Helens
ทางทิศตะวันออก 23 ธันวาคม 2004
.
.
.
การระเบิดของไอน้ำ (Phreatic) จากปล่องภูเขาไฟ
เมื่อวันที่ 6 เมษายน 1980 ทางทิศตะวันตกเฉียงใต้
.
.
.
รอยนูนด้านทิศเหนือของภูเขาไฟ St. Helens
ที่ก่อตัวเป็นหินหนืดดันขึ้นจุดสูงสุด
ก่อนวันที่ 18 พฤษภาคม 1980
จากทิศตะวันออกเฉียงเหนือ
.
.
.
เศษเล็กเศษน้อยจากการปะทุ
ของภูเขาไฟ St. Helens 18 พค. 1980
ไหลไปทิศตะวันตกเฉียงเหนือ
สู่ North Fork Toutle River valley
.
.
.
เศษซากองไม้ในวันที่ภูเขาไฟระเบิด
.
.
ทางทิศตะวันตกเฉียงใต้
.
.
.
Lahars เกิดจากภูเขาไฟระเบิด
เหลือแต่โคลน/ต้นไม้ ที่ริมแม่น้ำ
มีนักวิทยาศาสตร์ยืนอยู่บนฝั่ง
ของแม่น้ำโคลน ทางตะวันออกเฉียงใต้
.
.
.
Fireweed เติบโตในพื้นที่เสียหาย
ทางทิศเหนือ St. Helens (ฤดูร้อน 1984)
.
.
.
© https://bit.ly/2ToMVCX
.
.
เรื่องเล่าไร้สาระ
.
ไม้ถ้าแช่ในน้ำ/ฝังดินอยู่ได้นานหลายปี
เช่น ไม้ยางพารา ไม้สน ไม้มะพร้าว ไม้ไผ่
แต่ถ้านำขึ้นมาโดนแดด ไม่นานนัก
มักจะราน/แตกเป็นเสี้ยน/มอดปลวกกิน
จขกท. เคยไปที่เขื่อนบางลาง ยะลา
ช่วงหน้าร้อน จะเห็นต้นไม้ใหญ่ ๆ
ที่จมน้ำอยู่โผล่ขึ้นมาพ้นน้ำ
วิศวกรเขื่อนเล่าให้ฟังว่า
สักพักก็จะมีชาวบ้านมาขอไป
ถ้าโยกให้หลุดลอยได้ก็ทำ
แต่ถ้าโยกไม่ได้ก็จะดำน้ำลงไปตัด
เพื่อนำไม้ไปใช้งานด้านต่าง ๆ
จะห้ามก็ลำบากเพราะอยู่ในพื้นที่
รวมทั้งเขื่อนตอนก่อสร้างเขื่อน
ก็ยังตัดไม้สางไม้ได้ไม่หมด
การที่มีต้นไม้จมในเขื่อนมาก ๆ
อาจจะเกิดอันตรายขึ้นมาได้
เวลาเศษไม้/กิ่งไม้ไหลไปติดสันเขื่อน
และทำให้น้ำเน่าเหม็นมาก ๆ
แบบเขื่อนที่สร้างเสร็จใหม่ ๆ
ส่วนไม้ตะเคียนเป็นไม้เนื้อกลาง
ไม้มีรสขม เพรียง
ไม่ชอบเกาะเลยนิยมทำเรือรบ
จึงมีตำนานผีสางนางไม้คอย
ไว้คอยหลอกหลอนป้องกันคนตัดไม้
และมีกฏหมายห้ามตัดต้นตะเคียน
เพื่อสงวนไว้กับหลวงเท่านั้น
ทำให้ทรัพยากรประจำท้องถิ่น
คนพื้นที่ได้แต่ยืนเหิด(จ้องมอง)
เพราะตัดต้นไม้ไปใช้ต่อเรือไม่ได้
เป็นอย่างนี้ตั้งแต่เกิดในยุคอดีต