ข้อสังเกตในตลาดหุ้นที่ว่า แพทเทิร์นของราคาดัชนี S&P 6 เดือนในช่วงหลัง Halloween (พฤศจิกายน-เมษายน) มักจะดีกว่าช่วงเดือนพฤษภาคม ถึง เดือนตุลาคม ตามคํากล่าวที่ว่า Sell in May & go away.
เราลองมาดูกันครับ ว่าคํากล่าวนี้เป็นจริงในตลาดไทยหรือไม่ เราได้ใช้ข้อมูลราคาดัชนี SET คํานวณผลตอบแทนรายเดือน ตั้งแต่ปี 1998-ปัจจุบัน
จะเห็นได้ว่า กล่องสีเขียว ผลตอบแทนรวม (พฤศจิกายน-เมษายน) มีค่าเฉลี่ย 1.32% ต่อเดือน ในขณะที่กล่องสีเหลือง (พฤษภาคม-กันยายน) ค่าเฉลี่ยเพียง 0.6% ต่อเดือน
.
เราได้ข้อสรุปเช่นเดียวกับตลาด S&P ถึงแม้ว่าผลลัพธ์จะไม่เด่นชัดนัก แต่อย่าลืมว่ามีข้อยกเว้นของ Sell in May & Go away เมื่อตลาด rally เดือนตุลาคม 1998 (Fed bail out หลัง LTCM crisis)
.
เราควรเทรดหลังเดือนพฤษภาคมเมื่อจำเป็นเท่านั้น นี่ยังไม่พูดถึง ค่าคอมมิชชั่น และตลาดที่เคลื่อนไหวรวดเร็ว เพราะนโยบายกระตุ้นเศรษฐกิจของประเทศต่างๆ ที่อาจมาสร้างความหวังเป็นระลอกแต่อาจไม่ยั่งยืน
.
ช่วยกดไลค์เฟสบุ๊คเป็นกําลังใจให้ด้วยครับ
www.facebook.com/BarracudaStocks
#ตลาดหุ้นไทย
#sellinmayandgoaway
“ปรากฏการณ์ Sell in May & Go away ใช้ได้กับตลาดไทยแค่ไหน”
เราลองมาดูกันครับ ว่าคํากล่าวนี้เป็นจริงในตลาดไทยหรือไม่ เราได้ใช้ข้อมูลราคาดัชนี SET คํานวณผลตอบแทนรายเดือน ตั้งแต่ปี 1998-ปัจจุบัน
จะเห็นได้ว่า กล่องสีเขียว ผลตอบแทนรวม (พฤศจิกายน-เมษายน) มีค่าเฉลี่ย 1.32% ต่อเดือน ในขณะที่กล่องสีเหลือง (พฤษภาคม-กันยายน) ค่าเฉลี่ยเพียง 0.6% ต่อเดือน
.
เราได้ข้อสรุปเช่นเดียวกับตลาด S&P ถึงแม้ว่าผลลัพธ์จะไม่เด่นชัดนัก แต่อย่าลืมว่ามีข้อยกเว้นของ Sell in May & Go away เมื่อตลาด rally เดือนตุลาคม 1998 (Fed bail out หลัง LTCM crisis)
.
เราควรเทรดหลังเดือนพฤษภาคมเมื่อจำเป็นเท่านั้น นี่ยังไม่พูดถึง ค่าคอมมิชชั่น และตลาดที่เคลื่อนไหวรวดเร็ว เพราะนโยบายกระตุ้นเศรษฐกิจของประเทศต่างๆ ที่อาจมาสร้างความหวังเป็นระลอกแต่อาจไม่ยั่งยืน
.
ช่วยกดไลค์เฟสบุ๊คเป็นกําลังใจให้ด้วยครับ
www.facebook.com/BarracudaStocks
#ตลาดหุ้นไทย
#sellinmayandgoaway