1. ผู้ติดเชื้อ Wave 2 อาจจะตามมา
---> อันนี้ความเป็นไปได้มีอยู่แล้วและทุกคนก็คาดว่าอาจจะเกิดขึ้นได้สูงด้วยหากเปิดเมือง อันนี้ถ้ามันจะเกิดก็ซวยครับ เพราะเป็นไปไม่ได้ที่จะปิดเมืองไปจนกว่ามีวัคซีน (อาจจะอีกนาน)
2. ต้นทุนของผู้ประกอบการที่สูงขึ้น
---> อันนี้ก็เช่นกันในเมื่อผู้บริโภคไม่เท่าเดิม ต้นทุนของผู้ประกอบการก็ย่อมสูงกัน Ex. เมื่อการร้านอาหารเคยรับลูกค้าได้ 100 คน แต่หลังจากนี้ 50 คนนี่ก็ถือว่าเยอะแล้วนะ แล้วต้นทุนที่เพิ่มขึ้นจากยอดขายที่น้อยลงใครจะเป็นผู้รับผิดชอบ ผู้ประกอบการหรือผู้บริโภคหละ???
3. เกิดเงินเฟ้อในภาวะเงินฝืด (ตอนแรกผมก็งงว่าจะเกิดยังไง พอมานั่งคิดๆ เออ จริงหวะ ผมจะอธิบายให้ฟัง)
---> จากข้อ 2 จะทำให้เกิดปัญหาในข้อนี้ ในเมื่อผู้ประกอบการต้นทุนสูงขึ้น แน่นอนที่จะต้องผลักภาระไปให้ผู้บริโภค และแน่นอนเช่นกันคงไม่มีใครใจดีรับ Cost หมด อย่างเก่งก็คนละครึ่ง Ex. อาหารจานนึง เคยขาย 120 บาท แต่รับลูกค้าได้น้อยลงต้นทุนสูงขึ้น หรืออาจจะ กำไรน้อยลง เลยขอปรับเป็น 130 บาท(ผลักให้ลูกค้ารับ) หรือ 125 บาท (ช่วยๆกันคนละครึ่ง) นี่คือภาพของเงินเฟ้อในภาวะเงินฝืด เงินก็น้อยอยู่แล้ว ของดันมาขึ้นราคาอีก ล่าสุด ผมได้ยินแว่วๆผ่านรายการไหนแระจำไม่ได้ ว่าร้านชาบูร้นดัง ที่ตั้งอยู่ชั้น 6 Central World ขอปรับราคาอาหารขึ้น 6% เนื่องจากต้นทุนค่าบริหารสูงขึ้น
ถ้าผมเป็นนายกผมก็คงมึนนะครับ เจอปัญหาแบบนี้ ลองดูคิดครับว่าจริงหรือไม่ เอาใจช่วยนายกครับ
อย่าคิดว่าเปิดเมืองแล้วทุกอย่างจะจบนะครับ ลองมาดูกันครับว่าจะเจออะไรกันบ้าง?????
---> อันนี้ความเป็นไปได้มีอยู่แล้วและทุกคนก็คาดว่าอาจจะเกิดขึ้นได้สูงด้วยหากเปิดเมือง อันนี้ถ้ามันจะเกิดก็ซวยครับ เพราะเป็นไปไม่ได้ที่จะปิดเมืองไปจนกว่ามีวัคซีน (อาจจะอีกนาน)
2. ต้นทุนของผู้ประกอบการที่สูงขึ้น
---> อันนี้ก็เช่นกันในเมื่อผู้บริโภคไม่เท่าเดิม ต้นทุนของผู้ประกอบการก็ย่อมสูงกัน Ex. เมื่อการร้านอาหารเคยรับลูกค้าได้ 100 คน แต่หลังจากนี้ 50 คนนี่ก็ถือว่าเยอะแล้วนะ แล้วต้นทุนที่เพิ่มขึ้นจากยอดขายที่น้อยลงใครจะเป็นผู้รับผิดชอบ ผู้ประกอบการหรือผู้บริโภคหละ???
3. เกิดเงินเฟ้อในภาวะเงินฝืด (ตอนแรกผมก็งงว่าจะเกิดยังไง พอมานั่งคิดๆ เออ จริงหวะ ผมจะอธิบายให้ฟัง)
---> จากข้อ 2 จะทำให้เกิดปัญหาในข้อนี้ ในเมื่อผู้ประกอบการต้นทุนสูงขึ้น แน่นอนที่จะต้องผลักภาระไปให้ผู้บริโภค และแน่นอนเช่นกันคงไม่มีใครใจดีรับ Cost หมด อย่างเก่งก็คนละครึ่ง Ex. อาหารจานนึง เคยขาย 120 บาท แต่รับลูกค้าได้น้อยลงต้นทุนสูงขึ้น หรืออาจจะ กำไรน้อยลง เลยขอปรับเป็น 130 บาท(ผลักให้ลูกค้ารับ) หรือ 125 บาท (ช่วยๆกันคนละครึ่ง) นี่คือภาพของเงินเฟ้อในภาวะเงินฝืด เงินก็น้อยอยู่แล้ว ของดันมาขึ้นราคาอีก ล่าสุด ผมได้ยินแว่วๆผ่านรายการไหนแระจำไม่ได้ ว่าร้านชาบูร้นดัง ที่ตั้งอยู่ชั้น 6 Central World ขอปรับราคาอาหารขึ้น 6% เนื่องจากต้นทุนค่าบริหารสูงขึ้น
ถ้าผมเป็นนายกผมก็คงมึนนะครับ เจอปัญหาแบบนี้ ลองดูคิดครับว่าจริงหรือไม่ เอาใจช่วยนายกครับ