คำตอบที่ได้รับเลือกจากเจ้าของกระทู้
ความคิดเห็นที่ 4
มี ทำกันอยู่แล้ว ไอ้ที่เชื้อโรคตกไปโดนแล้วตายน่ะ กรณีอนุภาคนาโน ซิลเวอร์ ซิงค์ ไททาเนี่ยม ถ้าผสมไปเลยมันต้องใส่เยอะแต่แอคทีฟแค่ที่ผิว ถ้าใช้กับพลาสติกหนาก็แพงเกิน ถ้าใช้กับพลาสติกบางก็ไม่ทน เช็ดล้างเอาดีกว่า
อีกอย่าง อนุภาคนาโนทั้งหลายมันไม่ได้ฆ่าเชื้อโรคได้ทุกชนิด แบคทีเรียยังไม่เคยเจอว่าฆ่าไม่ได้ เชื้อราฆ่ายาก ไวรัสกลุ่มโคโรน่าที่หลายที่ยืนยันว่าฆ่า H1N1 ได้
เมื่อก่อนตอน ไมโครแบนด์ ออกใหม่ๆ ก็มีคนพยายามเลียนแบบด้วยการใช้นาโนซิลเวอร์ ผลที่ได้คือพลาสติกเหลืองๆขุ่นๆ ดูไม่สวย
สิ่งสำคัญที่ต้องไม่ลืมคือ เชื้อโรคตัวเดี่ยวๆตกลงไปสัมผัสอนุภาคนาโนบนพื้นผิว(ที่อยู่อย่างหนาแน่นเหมาะสม) อันนี้ตายแน่นอน แต่ในความเป็นจริง มีไม่น้อยที่เชื้อโรคมาพร้อมกับตัวพา เช่น น้ำลาย น้ำมูก เลือด ทำให้มีจำนวนนึงที่ไม่ได้สัมผัสกับอนุภาคนาโนโดยตรงจึงฆ่าไม่ได้ อย่างนี้คุณเจ้าของกระทู้คิดว่าอย่างไร กรณีเสื้อผ้าก็แบบเดียวกัน ไม่ได้ว่าไม่ดี แต่มันมีข้อแม้ตามที่ว่ามา
อีกอย่าง อนุภาคนาโนทั้งหลายมันไม่ได้ฆ่าเชื้อโรคได้ทุกชนิด แบคทีเรียยังไม่เคยเจอว่าฆ่าไม่ได้ เชื้อราฆ่ายาก ไวรัสกลุ่มโคโรน่าที่หลายที่ยืนยันว่าฆ่า H1N1 ได้
เมื่อก่อนตอน ไมโครแบนด์ ออกใหม่ๆ ก็มีคนพยายามเลียนแบบด้วยการใช้นาโนซิลเวอร์ ผลที่ได้คือพลาสติกเหลืองๆขุ่นๆ ดูไม่สวย
สิ่งสำคัญที่ต้องไม่ลืมคือ เชื้อโรคตัวเดี่ยวๆตกลงไปสัมผัสอนุภาคนาโนบนพื้นผิว(ที่อยู่อย่างหนาแน่นเหมาะสม) อันนี้ตายแน่นอน แต่ในความเป็นจริง มีไม่น้อยที่เชื้อโรคมาพร้อมกับตัวพา เช่น น้ำลาย น้ำมูก เลือด ทำให้มีจำนวนนึงที่ไม่ได้สัมผัสกับอนุภาคนาโนโดยตรงจึงฆ่าไม่ได้ อย่างนี้คุณเจ้าของกระทู้คิดว่าอย่างไร กรณีเสื้อผ้าก็แบบเดียวกัน ไม่ได้ว่าไม่ดี แต่มันมีข้อแม้ตามที่ว่ามา
แสดงความคิดเห็น
พลาสติกที่สามารถสลายเชื้อโรคได้ เราสามารถทำได้มั้ย
ตอนนี้เรามีการคิดวิจัยในเรื่องนี้กันอยู่ หรือ มีการนำมาใช้มั่งมั้ยคะ
อย่างฉากกั้น ถ้าเราสามารถใช้พลาสติกนี้ได้ ก็จะลดการแพร่กระจายเชื้อ เช่น เวลานั่งทานอาหารที่มีฉากพลาสติดชนิดนี้กั้น เชื้อโดนพลาสติกก็จะสลายไป
หรือ ในชุดที่คุณหมอ นางพยาบาลใส่ ก็ทำให้เชื้อไม่ติดกับเสื้อผ้า