1 Week กับ Huawei P40 และ HMS รอดหรือไม่ มีอะไรใหม่?
ก่อนจะไปถึง P40 เรามาพูดถึง OS ของตัวมันก่อนดีกว่าครับ
EMUI 10 และ 10.1 เป็น Android OS จากที่ไหน ในเมื่อ Google โดนสหรัฐฯ สั่งห้ามแล้ว ?
EMUI ย่อมาจาก Emotion User Interface ซึ่งเรียกได้ว่าเป็นรูปแบบและลักษณะที่เป็นเอกลักษณ์ของ Huawei เอง เหมือนกับ Colos OS จาก Oppo หรือ HTC Sense จาก HTC ครับ ส่วนไส้ใน หรือ Core มันก็นเป็น Android OS จาก Google โดยทำ OS ร่วมกันกับ Google แต่จะมี Android อีกตัวนึงที่ Google ทำออกมาเพื่อแจกจ่าย เลยเฉพาะคือ AOSP ครับ ซึ่งนี่แหละเป็นตัวที่ HUAWEI เลือกใช้มาทำ OS สำหรับ มือถือที่ใช้ EMUI 10 (ที่ไม่ได้รับรองโดย Google)
AOSP คือ อะไรหละ?
AOSP หรือชื่อเต็มๆ ก็คือ Android Open Source Project ครับ เป็น 1 ใน Open Source OS หรือเรียกให้เข้าใจง่ายๆ ว่าระบบปฏิบัติการแจกฟรีซึ่ง AOSP เองเป็น Android ที่ Google พัฒนานั่นแหละครับ แต่เปิดให้คนนำไปใช้ นำไปพัฒนาต่อยอดได้เองแบบฟรีๆ นั่นเอง ใครจะเอาไปใช้ก็ได้ ตามข้อกำหนดของ Open Source Licensed Software
AOSP กับ Pure Android เหมือนกันไหม?
ย้อนกลับไป สมัยก่อนที่ Google จะทำ Hardware เอง Google ก็จะหา Vendor หรือผู้ผลิตมือถือที่มีศักยภาพพอที่จะพัฒนา Android Version ใหม่ๆ ได้ โดย Vendor เจ้าแรกที่ทาง Google เลือกใช้ คือ HTC นั่นเองครับ นั่นก็คือ HTC Nexus One ซึ่งเป็นผลต่อเนื่องมาจากที่ Google พัฒนา Android ลงบน HTC มาก่อนแล้วนั่นก็คือ HTC Dream นั่นเอง . . .และการเปิดตัวโทรศัพท์รุ่นใหม่ ก็มักจะมาพร้อมกับ OS version ใหม่ด้วยครับ
โดยแรกๆ หลังการเปิดตัว นักพัฒนาของมือถือยี่ห้ออื่น ก็จะทำการพอร์ท Software ไปลงกับมือถือของตัวเอง เลยทำให้มีปัญหาค่อนข้างเยอะ ทาง Google เลยแก้เกมส์โดยหลังจากการออก OS Version ใหม่ จะมีการออก AOSP ตามหลังเพื่อที่นักพัฒนาสามารถนำไปใช้ได้ทันทีไม่ต้องยุ่งยากในการพอร์ท Software อีกต่อไปนั่นเองครับ
เพราะฉะนั้น AOSP กับ Pure Android ก็จะเหมือนกันในแง่ของ User Interface (UI) ในการใช้งาน นั่นเอง แต่สำหรับ feature อื่นๆ อันนั้นก็ขึ้นอยู่กับนักพัฒนา Software แต่ละค่าย หรือ คุณสมบัติของมือถือรุ่นนั้นๆ ที่นำไปใช้แหละครับว่าจะทำอะไรเพิ่มเติมขึ้นมาไหมนั่นก็อีกเรื่อง
AOSP กับ Android One เหมือนกันไหม?
คำตอบคือ : ไม่เหมือนครับ AOSP คือ Android ที่ Google ทำ Software เพื่อนำไปแจกจ่าย แก้ไข ได้ฟรีๆ โดยที่ AOSP เองจะไม่มีบริการของ Google มาเลย จะมีแต่ OS แบบเพียวๆ มาเลย ซึ่งนักพัฒนาจะหยิบจับอะไรมาใส่บ้าง นั่นก็สุดแต่นักพัฒนาแต่ละค่ายแหละครับ . . .
ส่วน Android One คือมือถือที่ Google ทำ Software ให้ และรับประกัน Software ให้ด้วยว่าจะอัพเดทได้ 2 ปีนั่นเอง ซึ่ง Vendor เจ้าไหนอยากทำ Android ก็สามารถยื่นเรื่อง และ เครื่องไปให้ Google ทำให้ได้ แต่ข้อกำหนดในการทำ อันนั้นผมไม่ทราบจริงๆ ใครอยากทำก็ลองติดต่อดูแล้วกันนะครับ
แล้ว AOSP ต่างจาก Android บนมือถือยี่ห้ออื่นๆ ยังไง?
ในแง่ของการเป็น Android เรียกได้ว่าไม่ต่างครับแต่ แต่มีประเด็นที่สำคัญอยู่สองอย่างนั่นคือ
1. AOSP จะไม่มี GMS หรือ Google Mobile Services อยู่ และ การที่จะขอ GMS นั้นก็ต้องส่งมาทำ CTS ก่อน ครับ ซึ่ง Google จะออก Certified ให้หลังทำครับ
2. AOSP จะไม่มี User Interface เป็นของตัวเอง ซึ่งแต่ละแบรนด์ก็จะมี UI เป็นของตัวเองอยู่แล้ว เช่น OneUI ของ Samsung , MIUI ของ Xiaomi และ ColorOS ของ OPPO เป็นต้น
เอาจริงๆ Android บนแบรนด์อื่นๆ มันก็คือ AOSP + Google Services + Customize UI นั่นแหละครับ ซึ่งแน่นอนก่อนที่เราจะนำ Google Services เข้าไปในรวมกับ AOSP และ นำไปใส่ในมือถือแต่ละรุ่น เราก็ต้องทำ CTS ก่อน (Compatible Test Suite) และ ตรวจสอบซ้ำอีกทีด้วยการทำ CTS Verifier เพื่อตรวจสอบการทำงานการเชื่อมต่อกันระหว่างอุปกรณ์ (API) สำหรับ Sensor ต่างๆ บนเครื่องเช่น กล้อง ไมค์ ลำโพง และอื่นๆ หลังจากทำสองขั้นตอนนั้นไปแล้ว ต้องมาทำขั้นตอนสุดท้ายคือทำ GTS (Google Mobile Servies Test Suite) ตามอีก หลังจากทำ GTS แล้ว เราจะได้ Certification สำหรับมือถือรุ่นนั้นครับ สังเกตได้ว่ามีหลายขั้นตอนมากในการทำ . . .
แล้ว Certified Partner ของ Google มีอะไรบ้างหละ?
การจะได้ใบรับรองจาก Google ก็ต้องสมัครเป็น Partner กับ Google ก่อนซึ่งก็เหมือนกับ Partner บริษัททั่วไปนี่แหละครับ โดยจะแยกเป็นสองส่วนหลักๆ คือ Partner ที่เป็นแบรนด์เองเช่น ACER,HP,SAMSUNG เป็นต้นครับ ซึ่งแน่นอน Huawei ก็ยังเป็น Certified Partner เช่นเดียวกับแบรนด์อื่นๆ ครับ ตามที่ออกข่าวว่ายังรักกันดีอยู่อีกส่วนนึงคือ Partner ที่เป็น ODMs ครับ
แล้ว ODMs คืออะไร?
ODM ย่อมาจาก Original Design Manufacture ครับ หรือพูดง่ายๆ ก็คือหากเราอยากมือถือแบรนด์ของตัวเองโดยมี Google Apps มาด้วย เราก็จะใช้บริการของโรงงานเหล่านี้ครับ ซึ่งในระบบหลังบ้านจริงๆ หลายแบรนด์ เวลาที่ผลิตเครื่องไม่ทันก็จะจ้าง ODMs นี่แหละช่วยผลิตด้วยเช่นกันครับ
GMS คืออะไร?
GMS คือ Google Mobile Services โดยมี Google Apps เป็นส่วนประกอบครับ เช่น Gmail , YouTube , Google Maps , Playstore หรืออื่นๆ
หน้าที่ของ GMS แท้จริงคืออะไร?
GMS จริงๆ แล้ว คือระบบการเชื่อมโยง Application ต่างๆ เข้าด้วยกันด้วย Google Account ครับ โดยเชื่อมโยงบริการต่างๆ เพื่อให้ทุกอย่างอยู่ภายใต้ Google Account เดียวกัน ไม่ว่าจะเป็นข้อมูลการใช้งาน เบอร์ติดต่อ หรือข้อมูลส่วนตัว ซึ่งก็แล้วแต่ว่าโปรแกรมหรือ Application ปลายทางต้องการข้อมูลอะไรบ้างครับ ยกตัวอย่างแอป pantip ก็จะมีการเรียกใช้ด้วย Google Account เช่นเดียวกัน และเมื่อกดเข้าไปแล้วตัว Google เองก็จะบอกว่า application นี้ต้องการข้อมูลอะไรบ้างเป็นต้น
ถ้าเครื่องที่ไม่มี GMS จะใช้บริการ Google Apps ได้ไหม?
คำตอบคือ : ได้ครับ อย่างเวลาเราใช้งานบน PC หรือ Macintosh เราก็ไม่มี GMS แต่เราก็ใช้งาน Google Apps เช่น Google Maps , YouTube , Gmail ได้อย่างเป็นปกติโดยผ่าน Browser เพราะ Google ไม่ได้ทำ Apps มาเพื่อ Windows โดยเฉพาะเหมือนกัน เช่นเดียวกัน ครับบนมือถือที่ไม่มี GMS เราก็ใช้งานได้เช่นกัน โดยใช้งานผ่าน Browser ครับ
ถ้าเราอยาก Google App จริงๆ เลยหละ ไม่อยากใช้ผ่าน Browser ทำได้ไหม?
คำตอบคือ : ได้ครับ แต่ได้เป็นบางแอปเช่น Google Maps , Google Keyboard , Google Translate เป็นต้น
แล้ว HMS หละ คืออะไร เหมือน GMS ไหม?
HMS ย่อมาจาก Huawei Mobile Services ทำหน้าที่เหมือน GMS แหละครับ โดยมี Huawei App อย่าง Huawei AppGallery,Browser,Mobile Cloud,Music,Video,Reader, Assistant เป็นต้น
ไม่มี GMS กระทบต่อชีวิตประจำวันไหม?
มุมมองผมสำหรับ GMS มันก็เป็นเหมือนแค่ Services ตัวนึงครับ ที่ทำให้เราสะดวกขึ้น บางคนบอกว่าไม่มี Google Apps มาให้ไม่ซื้อ แต่กลับลืมมองไปว่า บางแบรนด์ก็ไม่ได้มีมาให้แต่แรกอย่าง iPhone เป็นต้น เราก็ต้องมา Download ใช้เองอยู่แล้วครับ นอกจากนั้นตัว HMS เองก็ทำหน้าที่ได้เหมือน GMS หรือ Samsung Account ที่สามารถ Sync ข้อมูล ปฏิทิน รายชื่อ สมุดโน้ต รวมถึง Gallery ด้วยก็ยังสามารถ อัพขึ้น Cloud ได้ตามปกติ
แบรนด์อื่นทำระบบเหมือน HMS หรือไม่?
มีครับ แต่ไม่ได้ทำครบทั้งระบบเหมือน HMS หลายอย่างยังต้องพึ่ง Google อยู่ซึ่งต่างจาก Huawei ที่ทำระบบของตัวเองรองรับไว้หมดแล้ว
ตัวอย่างที่ 1 : ภาพถ่ายจากโทรศัพท์ที่มีตำแหน่งของภาพซึ่ง Huawei มีระบบแผนที่ของตัวเองแล้ว เทียบกับแบรนด์อื่น ยังต้องใช้ Google Maps ในการแสดงผล
ตัวอย่างที่ 2 : การจ่ายเงินเพื่อสมัครสมาชิกของ Application Huawei มีระบบ payment สำหรับแอปนอกแล้ว อย่าง BeautyPlus แต่ของอีกแบรนด์ยังต้องพึ่ง Google อีก
การพัฒนาของ HMS แบบก้าวกระโดด
1. Maps ตอนนี้แผนที่ที่ทาง Huawei ร่วมมือกับ Tom Tom ใกล้เสร็จแล้วครับ
ภาพจากระบบ EMUI+HMS ของ Huawei แสดงให้เห็นถึงพัฒนาการที่แต่ก่อนต้องพึ่งพา Google จนพัฒนามาเป็นของตัวเองได้
2. Browser ของ Huawei สามารถดูภาพยนตร์ที่ซื้อมาจาก Google Play Store ได้แล้ว (Browser เจ้าอื่นทำไม่ได้นะครับ)
3. Huawei AppGallery ที่มีแอปสำหรับคนไทยมากขึ้น . . ถ้าเทียบกับ App Store นอก แต่สิ่งที่ Huawei AppGallery ยังมีข้อด้อยกว่าคือเรื่อง Games และ แอปที่ต้องเรียกใช้ GMS ก็ต้องพัฒนากันต่อไปครับ . . ให้เรียกใช้ HMS แทน เหมือน BeautyPlus ที่ผมเอ่ยไป เป็นต้นครับ
รูปแรกคือ Huawei AppGallery > Galaxy Store > Realme App Market > Oppo App Market
4. Huawei Share สามารถใช้งานบน Windows เครื่องไหนก็ได้แล้ว (อยู่ในขั้นตอนการพัฒนา)
ผมใช้งานในเครื่อง Notebook Brand ASUS / ACER
5. App Gallery มี Google แล้ว ใช้งานผ่าน Website เท่านั้น
[SR] 1 Week กับ Huawei P40 และ HMS รอดหรือไม่ มีอะไรใหม่?
EMUI ย่อมาจาก Emotion User Interface ซึ่งเรียกได้ว่าเป็นรูปแบบและลักษณะที่เป็นเอกลักษณ์ของ Huawei เอง เหมือนกับ Colos OS จาก Oppo หรือ HTC Sense จาก HTC ครับ ส่วนไส้ใน หรือ Core มันก็นเป็น Android OS จาก Google โดยทำ OS ร่วมกันกับ Google แต่จะมี Android อีกตัวนึงที่ Google ทำออกมาเพื่อแจกจ่าย เลยเฉพาะคือ AOSP ครับ ซึ่งนี่แหละเป็นตัวที่ HUAWEI เลือกใช้มาทำ OS สำหรับ มือถือที่ใช้ EMUI 10 (ที่ไม่ได้รับรองโดย Google)
AOSP คือ อะไรหละ?
AOSP หรือชื่อเต็มๆ ก็คือ Android Open Source Project ครับ เป็น 1 ใน Open Source OS หรือเรียกให้เข้าใจง่ายๆ ว่าระบบปฏิบัติการแจกฟรีซึ่ง AOSP เองเป็น Android ที่ Google พัฒนานั่นแหละครับ แต่เปิดให้คนนำไปใช้ นำไปพัฒนาต่อยอดได้เองแบบฟรีๆ นั่นเอง ใครจะเอาไปใช้ก็ได้ ตามข้อกำหนดของ Open Source Licensed Software
AOSP กับ Pure Android เหมือนกันไหม?
ย้อนกลับไป สมัยก่อนที่ Google จะทำ Hardware เอง Google ก็จะหา Vendor หรือผู้ผลิตมือถือที่มีศักยภาพพอที่จะพัฒนา Android Version ใหม่ๆ ได้ โดย Vendor เจ้าแรกที่ทาง Google เลือกใช้ คือ HTC นั่นเองครับ นั่นก็คือ HTC Nexus One ซึ่งเป็นผลต่อเนื่องมาจากที่ Google พัฒนา Android ลงบน HTC มาก่อนแล้วนั่นก็คือ HTC Dream นั่นเอง . . .และการเปิดตัวโทรศัพท์รุ่นใหม่ ก็มักจะมาพร้อมกับ OS version ใหม่ด้วยครับ
โดยแรกๆ หลังการเปิดตัว นักพัฒนาของมือถือยี่ห้ออื่น ก็จะทำการพอร์ท Software ไปลงกับมือถือของตัวเอง เลยทำให้มีปัญหาค่อนข้างเยอะ ทาง Google เลยแก้เกมส์โดยหลังจากการออก OS Version ใหม่ จะมีการออก AOSP ตามหลังเพื่อที่นักพัฒนาสามารถนำไปใช้ได้ทันทีไม่ต้องยุ่งยากในการพอร์ท Software อีกต่อไปนั่นเองครับ
เพราะฉะนั้น AOSP กับ Pure Android ก็จะเหมือนกันในแง่ของ User Interface (UI) ในการใช้งาน นั่นเอง แต่สำหรับ feature อื่นๆ อันนั้นก็ขึ้นอยู่กับนักพัฒนา Software แต่ละค่าย หรือ คุณสมบัติของมือถือรุ่นนั้นๆ ที่นำไปใช้แหละครับว่าจะทำอะไรเพิ่มเติมขึ้นมาไหมนั่นก็อีกเรื่อง
AOSP กับ Android One เหมือนกันไหม?
คำตอบคือ : ไม่เหมือนครับ AOSP คือ Android ที่ Google ทำ Software เพื่อนำไปแจกจ่าย แก้ไข ได้ฟรีๆ โดยที่ AOSP เองจะไม่มีบริการของ Google มาเลย จะมีแต่ OS แบบเพียวๆ มาเลย ซึ่งนักพัฒนาจะหยิบจับอะไรมาใส่บ้าง นั่นก็สุดแต่นักพัฒนาแต่ละค่ายแหละครับ . . .
ส่วน Android One คือมือถือที่ Google ทำ Software ให้ และรับประกัน Software ให้ด้วยว่าจะอัพเดทได้ 2 ปีนั่นเอง ซึ่ง Vendor เจ้าไหนอยากทำ Android ก็สามารถยื่นเรื่อง และ เครื่องไปให้ Google ทำให้ได้ แต่ข้อกำหนดในการทำ อันนั้นผมไม่ทราบจริงๆ ใครอยากทำก็ลองติดต่อดูแล้วกันนะครับ
แล้ว AOSP ต่างจาก Android บนมือถือยี่ห้ออื่นๆ ยังไง?
ในแง่ของการเป็น Android เรียกได้ว่าไม่ต่างครับแต่ แต่มีประเด็นที่สำคัญอยู่สองอย่างนั่นคือ
1. AOSP จะไม่มี GMS หรือ Google Mobile Services อยู่ และ การที่จะขอ GMS นั้นก็ต้องส่งมาทำ CTS ก่อน ครับ ซึ่ง Google จะออก Certified ให้หลังทำครับ
2. AOSP จะไม่มี User Interface เป็นของตัวเอง ซึ่งแต่ละแบรนด์ก็จะมี UI เป็นของตัวเองอยู่แล้ว เช่น OneUI ของ Samsung , MIUI ของ Xiaomi และ ColorOS ของ OPPO เป็นต้น
เอาจริงๆ Android บนแบรนด์อื่นๆ มันก็คือ AOSP + Google Services + Customize UI นั่นแหละครับ ซึ่งแน่นอนก่อนที่เราจะนำ Google Services เข้าไปในรวมกับ AOSP และ นำไปใส่ในมือถือแต่ละรุ่น เราก็ต้องทำ CTS ก่อน (Compatible Test Suite) และ ตรวจสอบซ้ำอีกทีด้วยการทำ CTS Verifier เพื่อตรวจสอบการทำงานการเชื่อมต่อกันระหว่างอุปกรณ์ (API) สำหรับ Sensor ต่างๆ บนเครื่องเช่น กล้อง ไมค์ ลำโพง และอื่นๆ หลังจากทำสองขั้นตอนนั้นไปแล้ว ต้องมาทำขั้นตอนสุดท้ายคือทำ GTS (Google Mobile Servies Test Suite) ตามอีก หลังจากทำ GTS แล้ว เราจะได้ Certification สำหรับมือถือรุ่นนั้นครับ สังเกตได้ว่ามีหลายขั้นตอนมากในการทำ . . .
การจะได้ใบรับรองจาก Google ก็ต้องสมัครเป็น Partner กับ Google ก่อนซึ่งก็เหมือนกับ Partner บริษัททั่วไปนี่แหละครับ โดยจะแยกเป็นสองส่วนหลักๆ คือ Partner ที่เป็นแบรนด์เองเช่น ACER,HP,SAMSUNG เป็นต้นครับ ซึ่งแน่นอน Huawei ก็ยังเป็น Certified Partner เช่นเดียวกับแบรนด์อื่นๆ ครับ ตามที่ออกข่าวว่ายังรักกันดีอยู่อีกส่วนนึงคือ Partner ที่เป็น ODMs ครับ
ODM ย่อมาจาก Original Design Manufacture ครับ หรือพูดง่ายๆ ก็คือหากเราอยากมือถือแบรนด์ของตัวเองโดยมี Google Apps มาด้วย เราก็จะใช้บริการของโรงงานเหล่านี้ครับ ซึ่งในระบบหลังบ้านจริงๆ หลายแบรนด์ เวลาที่ผลิตเครื่องไม่ทันก็จะจ้าง ODMs นี่แหละช่วยผลิตด้วยเช่นกันครับ
GMS คือ Google Mobile Services โดยมี Google Apps เป็นส่วนประกอบครับ เช่น Gmail , YouTube , Google Maps , Playstore หรืออื่นๆ
GMS จริงๆ แล้ว คือระบบการเชื่อมโยง Application ต่างๆ เข้าด้วยกันด้วย Google Account ครับ โดยเชื่อมโยงบริการต่างๆ เพื่อให้ทุกอย่างอยู่ภายใต้ Google Account เดียวกัน ไม่ว่าจะเป็นข้อมูลการใช้งาน เบอร์ติดต่อ หรือข้อมูลส่วนตัว ซึ่งก็แล้วแต่ว่าโปรแกรมหรือ Application ปลายทางต้องการข้อมูลอะไรบ้างครับ ยกตัวอย่างแอป pantip ก็จะมีการเรียกใช้ด้วย Google Account เช่นเดียวกัน และเมื่อกดเข้าไปแล้วตัว Google เองก็จะบอกว่า application นี้ต้องการข้อมูลอะไรบ้างเป็นต้น
คำตอบคือ : ได้ครับ อย่างเวลาเราใช้งานบน PC หรือ Macintosh เราก็ไม่มี GMS แต่เราก็ใช้งาน Google Apps เช่น Google Maps , YouTube , Gmail ได้อย่างเป็นปกติโดยผ่าน Browser เพราะ Google ไม่ได้ทำ Apps มาเพื่อ Windows โดยเฉพาะเหมือนกัน เช่นเดียวกัน ครับบนมือถือที่ไม่มี GMS เราก็ใช้งานได้เช่นกัน โดยใช้งานผ่าน Browser ครับ
ถ้าเราอยาก Google App จริงๆ เลยหละ ไม่อยากใช้ผ่าน Browser ทำได้ไหม?
คำตอบคือ : ได้ครับ แต่ได้เป็นบางแอปเช่น Google Maps , Google Keyboard , Google Translate เป็นต้น
แล้ว HMS หละ คืออะไร เหมือน GMS ไหม?
HMS ย่อมาจาก Huawei Mobile Services ทำหน้าที่เหมือน GMS แหละครับ โดยมี Huawei App อย่าง Huawei AppGallery,Browser,Mobile Cloud,Music,Video,Reader, Assistant เป็นต้น
ไม่มี GMS กระทบต่อชีวิตประจำวันไหม?
มุมมองผมสำหรับ GMS มันก็เป็นเหมือนแค่ Services ตัวนึงครับ ที่ทำให้เราสะดวกขึ้น บางคนบอกว่าไม่มี Google Apps มาให้ไม่ซื้อ แต่กลับลืมมองไปว่า บางแบรนด์ก็ไม่ได้มีมาให้แต่แรกอย่าง iPhone เป็นต้น เราก็ต้องมา Download ใช้เองอยู่แล้วครับ นอกจากนั้นตัว HMS เองก็ทำหน้าที่ได้เหมือน GMS หรือ Samsung Account ที่สามารถ Sync ข้อมูล ปฏิทิน รายชื่อ สมุดโน้ต รวมถึง Gallery ด้วยก็ยังสามารถ อัพขึ้น Cloud ได้ตามปกติ
มีครับ แต่ไม่ได้ทำครบทั้งระบบเหมือน HMS หลายอย่างยังต้องพึ่ง Google อยู่ซึ่งต่างจาก Huawei ที่ทำระบบของตัวเองรองรับไว้หมดแล้ว
ตัวอย่างที่ 1 : ภาพถ่ายจากโทรศัพท์ที่มีตำแหน่งของภาพซึ่ง Huawei มีระบบแผนที่ของตัวเองแล้ว เทียบกับแบรนด์อื่น ยังต้องใช้ Google Maps ในการแสดงผล
SR - Sponsored Review : กระทู้รีวิวนี้เป็นกระทู้ SR โดยที่เจ้าของกระทู้