จาก ข้อจำกัด ในเรื่องเครื่องตรวจ และน้ำยารวมทั้งบุคลากร เราที่มีจำกัด ทำให้เราทดสอบเคสได้ไม่มาก
ศาสตราจารย์ชูกิต ลิมปิจำนงค์ ผอ.สสวท
เสนอแนวคิดที่เยอรมันใช้ เพื่อเพิ่มการตรวจ หาเชื้อได้จำนวนครั้งล่ะมากๆได้
สรุปหลักการคือ การตรวจหาเชื้อ ทุกวันนี้เราเก็บตัวอย่างสารคัดหลั่งจาก จมูก คอ หลอดลม คนไข้ แล้วนำมาตรวจหาชิ้นส่วนของไรัสโดยการทำปฏิกริยาเร่งการเพิ่มจำนวนไวรัสให้มากขึ้น จนตรวจพบได้ (ถ้าในตัวอย่างนี้น มีไวรัส) ที่เรียกว่าวิธี PCR
ทุกวันนี้ตรวจคนต่อคน จำนวนทำไดไม่มาก (ตอน อจเขียนบทความราวๆไม่ถึงพันต่อวัน ) ตอนนี้อาจจะเพิ่มาได้หลายพันคนแต่ยังน้อย
ตอนนี้เราเน้น ตรวจในกลุ่มต้องสงสัย เลยพบ +ve ในเปอร์เซ็นต์สูงหน่อยคือราวๆ 10% 
แต่ถ้าตรวจกว้างขึ้นไปในกลุ่มคนปกติด้วย ก้อจะทำให้ เปอร์เซ้นต์พบเชื้อ(positive จะน้อยลง) อาจจะเหลือ ซัก 5% ซึ่งถ้าพบไม่มากแบบนี้การรวมตัวอย่างตรวจจะช่วยลดการตรวจลงไปได้มาก
แนวคิดนี้เลยใช้วิธีคล้ายการเล่นตอบปัญหาชั่งลูกเหล็ก ที่มีน้ำหนักแตกต่างกับลูกอื่น เพื่อแยกออกมา
โดยจากตัวอย่าง อจ ใช้ การเก็บตัวอย่างของคนไข้แต่ละค ออกมา คนละ 2ตัวอย่าง เอาไว้สำรองเก็บหลายไม้ในหลอดเดียวก้อได้)
สมมุติว่ามีคนไข้ที่มาตรวจ 40 คน แบ่งเป็น กลุ่มละ 4 คน สิบกลุ่ม
แต่ล่ะกลุ่มเอาตัวอย่างที่เก็บมา อันที่1 มารวมกันตรวจ ชุดล่ะ 4 คน รวมเป็น สิบชุด เท่ากับทำการตรวจไป 10 ครั้ง
ถ้ากลุ่มไหน ไม่พบเชื้อ นั่นหมายถึง ทั้งสี่คนในกรุ๊ปนั้นไม่มีเชื้อทั้งหมด
ถ้ากลุ่มไหน +ve แสดงว่า ต้องมี อย่างน้อยหนึ่งคนในกลุ่มนี้ ที่ เป็น หรืออาจเป็น 2-3-4 คนเลยก้อได้
ในกลุ่มที่+ve นี้เราจะเอาตัวอย่างที่ 2 มาแยกสี่คนนี้ออกเป็นคนๆรวม อีก 4 test ก้อจะทราบได้ว่าในกลุ่มนี้มีใครเป็นบ้าง
ถ้า ใน 10 กลุ่มมี +ve สองกลุ่ม(ตามค่าเฉลี่ย 5%)เราก้อทำ อีก 4 test สำหรับกลุ่มนั้น
ถ้า มี +ve 1 กลุ่มก้อตรวจรวม 14 ครั้ง
ถ้า มี +ve 2กลุ่มก้อตรวจรวม 18 ครั้ง
ถ้า มี +ve 3กลุ่มก้อตรวจ 22 ครั้ง
ถ้า มี +ve 4กลุ่มก้อตรวจ 26 ครั้ง
ถ้า มี +ve 5กลุ่มก้อตรวจรวม 30ครั้ง
ดังนั้น ถ้าค่าเฉลี่ยที่จะพบ บวกไว้ เท่ากับที่เราคิดไว้ คือ 5% คือ 2 คน นั่นหมายถึง 10กลุ่มจะมี 2 กลุ่ม ที่ มีผล บวก ผซึ่งจะใช้การตรวจ 18 test แทนที่จะเป็น 40 test เพิมจำนวนเคสตรวจได้เกือบ 3 เท่า
ยิ่งถ้า เปอรเซนต์การตรวจพบน้อยเราอาจจะเพิ่ม sample ต่อกลุ่มเป็น 8 หรือ 16 ต่อกลุ่ม แล้วถ้ากลุ่มไหน +ve ตชค่อยเอมาแบ่งย่อยเป็น กลุ่มละ 4 อีกครั้งโดยเก็บตัวอย่างเพิ่มไว้สำหรับตรวจมากสุด 3 รอบ ก้อจะเพิมขีดการตรวจได้
==อีกแนวคิดที่จะช่วยให้ตรวจโควิดได้จำนวนมากขึ้น==
ศาสตราจารย์ชูกิต ลิมปิจำนงค์ ผอ.สสวท
เสนอแนวคิดที่เยอรมันใช้ เพื่อเพิ่มการตรวจ หาเชื้อได้จำนวนครั้งล่ะมากๆได้
สรุปหลักการคือ การตรวจหาเชื้อ ทุกวันนี้เราเก็บตัวอย่างสารคัดหลั่งจาก จมูก คอ หลอดลม คนไข้ แล้วนำมาตรวจหาชิ้นส่วนของไรัสโดยการทำปฏิกริยาเร่งการเพิ่มจำนวนไวรัสให้มากขึ้น จนตรวจพบได้ (ถ้าในตัวอย่างนี้น มีไวรัส) ที่เรียกว่าวิธี PCR
ทุกวันนี้ตรวจคนต่อคน จำนวนทำไดไม่มาก (ตอน อจเขียนบทความราวๆไม่ถึงพันต่อวัน ) ตอนนี้อาจจะเพิ่มาได้หลายพันคนแต่ยังน้อย
ตอนนี้เราเน้น ตรวจในกลุ่มต้องสงสัย เลยพบ +ve ในเปอร์เซ็นต์สูงหน่อยคือราวๆ 10% 
แต่ถ้าตรวจกว้างขึ้นไปในกลุ่มคนปกติด้วย ก้อจะทำให้ เปอร์เซ้นต์พบเชื้อ(positive จะน้อยลง) อาจจะเหลือ ซัก 5% ซึ่งถ้าพบไม่มากแบบนี้การรวมตัวอย่างตรวจจะช่วยลดการตรวจลงไปได้มาก
แนวคิดนี้เลยใช้วิธีคล้ายการเล่นตอบปัญหาชั่งลูกเหล็ก ที่มีน้ำหนักแตกต่างกับลูกอื่น เพื่อแยกออกมา
แต่ล่ะกลุ่มเอาตัวอย่างที่เก็บมา อันที่1 มารวมกันตรวจ ชุดล่ะ 4 คน รวมเป็น สิบชุด เท่ากับทำการตรวจไป 10 ครั้ง
ถ้ากลุ่มไหน ไม่พบเชื้อ นั่นหมายถึง ทั้งสี่คนในกรุ๊ปนั้นไม่มีเชื้อทั้งหมด
ถ้ากลุ่มไหน +ve แสดงว่า ต้องมี อย่างน้อยหนึ่งคนในกลุ่มนี้ ที่ เป็น หรืออาจเป็น 2-3-4 คนเลยก้อได้
ในกลุ่มที่+ve นี้เราจะเอาตัวอย่างที่ 2 มาแยกสี่คนนี้ออกเป็นคนๆรวม อีก 4 test ก้อจะทราบได้ว่าในกลุ่มนี้มีใครเป็นบ้าง
ถ้า ใน 10 กลุ่มมี +ve สองกลุ่ม(ตามค่าเฉลี่ย 5%)เราก้อทำ อีก 4 test สำหรับกลุ่มนั้น
ถ้า มี +ve 1 กลุ่มก้อตรวจรวม 14 ครั้ง
ถ้า มี +ve 2กลุ่มก้อตรวจรวม 18 ครั้ง
ถ้า มี +ve 3กลุ่มก้อตรวจ 22 ครั้ง
ถ้า มี +ve 4กลุ่มก้อตรวจ 26 ครั้ง
ถ้า มี +ve 5กลุ่มก้อตรวจรวม 30ครั้ง
ดังนั้น ถ้าค่าเฉลี่ยที่จะพบ บวกไว้ เท่ากับที่เราคิดไว้ คือ 5% คือ 2 คน นั่นหมายถึง 10กลุ่มจะมี 2 กลุ่ม ที่ มีผล บวก ผซึ่งจะใช้การตรวจ 18 test แทนที่จะเป็น 40 test เพิมจำนวนเคสตรวจได้เกือบ 3 เท่า
ยิ่งถ้า เปอรเซนต์การตรวจพบน้อยเราอาจจะเพิ่ม sample ต่อกลุ่มเป็น 8 หรือ 16 ต่อกลุ่ม แล้วถ้ากลุ่มไหน +ve ตชค่อยเอมาแบ่งย่อยเป็น กลุ่มละ 4 อีกครั้งโดยเก็บตัวอย่างเพิ่มไว้สำหรับตรวจมากสุด 3 รอบ ก้อจะเพิมขีดการตรวจได้