คำตอบที่ได้รับเลือกจากเจ้าของกระทู้
ความคิดเห็นที่ 3
รอลงอาญาหมายถึงอะไร ?
“การรอลงอาญา คือ การที่ศาลพิจารณาพิพากษาตัดสินแล้วว่าจำเลยกระทำผิดจริง แต่มีเหตุที่ศาลเห็นว่าการปล่อยตัวจำเลยไปจะเป็นประโยชน์มากกว่าการลงโทษจำคุก”โดยการรอลงอาญา หรือที่ตามกฎหมายใช้คำว่า การรอการลงโทษ มีบัญญัติไว้ในประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 56โดยศาลจะคำนึงถึงอายุ ประวัติ ความประพฤติ สติปัญญา การศึกษา อบรม สุขภาพ ภาวะแห่งจิต นิสัย อาชีพ สิ่งแวดล้อม สภาพความผิด การรู้สึกผิด และการพยายามเยียวยา บรรเทาผลร้ายที่ได้กระทำลงไป และเหตุอื่นอันควรปรานีแล้วหากเห็นว่าน่าจะให้โอกาสจำเลยกลับตัวกลับใจ ภายในระยะเวลาที่กำหนด ศาลก็อาจเลือกให้ รอการลงโทษ คือมีการกำหนดโทษไว้แล้วแต่ยังไม่ได้ลงโทษ แล้วทำการปล่อยตัวจำเลยไปแต่หากศาลพิจารณาแล้วว่า การให้โอกาสจำเลยนั้นไม่เกิดประโยชน์ โดยคำนึงจากปัจจัยที่ได้กล่าวไปแล้วตอนต้น ศาลก็อาจเลือกไม่ให้รอการลงโทษ หรือ “ไม่รอลงอาญา”
ข้อมูลอ้างอิงจาก
– หนังสือรอการลงโทษภาคทฤษฎีและภาคปฏิบัติ ดร.สุเนติ คงเทพ
– คำอธิบายกฎหมายอาญาภาค1 ดร.เกียรติขจร วัจนะสวัสดิ์
*************
มาตรา 41 ผู้ใดเคยถูกศาลพิพากษาให้กักกันมาแล้ว หรือเคยถูกศาลพิพากษาให้ลงโทษจำคุกไม่ต่ำกว่าหกเดือนมาแล้วไม่น้อยกว่าสองครั้งในความผิดดังต่อไปนี้ คือ
(1) ความผิดเกี่ยวกับความสงบสุขของประชาชน ตามที่บัญญัติไว้ในมาตรา 209 ถึงมาตรา 216
(2) ความผิดเกี่ยวกับการก่อให้เกิดภยันตรายต่อประชาชน ตามที่บัญญัติไว้ในมาตรา 217 ถึงมาตรา 224
(3) ความผิดเกี่ยวกับเงินตรา ตามที่บัญญัติไว้ในมาตรา 240 ถึงมาตรา 246
(4) ความผิดเกี่ยวกับเพศ ตามที่บัญญัติไว้ในมาตรา 276 ถึงมาตรา 286
(5) ความผิดต่อชีวิต ตามที่บัญญัติไว้ในมาตรา 288 ถึงมาตรา 290 มาตรา 292 ถึงมาตรา 294
(6) ความผิดต่อร่างกาย ตามที่บัญญัติไว้ในมาตรา 295 ถึงมาตรา 299
(7) ความผิดต่อเสรีภาพ ตามที่บัญญัติไว้ในมาตรา 309 ถึงมาตรา 320
(8) ความผิดเกี่ยวกับทรัพย์ ตามที่บัญญัติไว้ในมาตรา 334 ถึงมาตรา 340 มาตรา 354 และมาตรา 357
และภายในเวลาสิบปีนับแต่วันที่ผู้นั้นได้พ้นจากการกักกัน หรือพ้นโทษ แล้วแต่กรณี ผู้นั้นได้กระทำความผิดอย่างหนึ่งอย่างใดในบรรดาที่ระบุไว้นั้นอีกจนศาลพิพากษาลงโทษจำคุกไม่ต่ำกว่าหกเดือนสำหรับการกระทำความผิดนั้น ศาลอาจถือว่า ผู้นั้นเป็นผู้กระทำความผิดติดนิสัย และจะพิพากษาให้กักกันมีกำหนดเวลาไม่น้อยกว่าสามปีและไม่เกินสิบปีก็ได้
ความผิดซึ่งผู้กระทำได้กระทำในขณะที่มีอายุต่ำกว่าสิบแปดปีนั้น มิให้ถือเป็นความผิดที่จะนำมาพิจารณากักกันตามมาตรานี้
*************
คุณคงไม่โชคดีอีก
“การรอลงอาญา คือ การที่ศาลพิจารณาพิพากษาตัดสินแล้วว่าจำเลยกระทำผิดจริง แต่มีเหตุที่ศาลเห็นว่าการปล่อยตัวจำเลยไปจะเป็นประโยชน์มากกว่าการลงโทษจำคุก”โดยการรอลงอาญา หรือที่ตามกฎหมายใช้คำว่า การรอการลงโทษ มีบัญญัติไว้ในประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 56โดยศาลจะคำนึงถึงอายุ ประวัติ ความประพฤติ สติปัญญา การศึกษา อบรม สุขภาพ ภาวะแห่งจิต นิสัย อาชีพ สิ่งแวดล้อม สภาพความผิด การรู้สึกผิด และการพยายามเยียวยา บรรเทาผลร้ายที่ได้กระทำลงไป และเหตุอื่นอันควรปรานีแล้วหากเห็นว่าน่าจะให้โอกาสจำเลยกลับตัวกลับใจ ภายในระยะเวลาที่กำหนด ศาลก็อาจเลือกให้ รอการลงโทษ คือมีการกำหนดโทษไว้แล้วแต่ยังไม่ได้ลงโทษ แล้วทำการปล่อยตัวจำเลยไปแต่หากศาลพิจารณาแล้วว่า การให้โอกาสจำเลยนั้นไม่เกิดประโยชน์ โดยคำนึงจากปัจจัยที่ได้กล่าวไปแล้วตอนต้น ศาลก็อาจเลือกไม่ให้รอการลงโทษ หรือ “ไม่รอลงอาญา”
ข้อมูลอ้างอิงจาก
– หนังสือรอการลงโทษภาคทฤษฎีและภาคปฏิบัติ ดร.สุเนติ คงเทพ
– คำอธิบายกฎหมายอาญาภาค1 ดร.เกียรติขจร วัจนะสวัสดิ์
*************
มาตรา 41 ผู้ใดเคยถูกศาลพิพากษาให้กักกันมาแล้ว หรือเคยถูกศาลพิพากษาให้ลงโทษจำคุกไม่ต่ำกว่าหกเดือนมาแล้วไม่น้อยกว่าสองครั้งในความผิดดังต่อไปนี้ คือ
(1) ความผิดเกี่ยวกับความสงบสุขของประชาชน ตามที่บัญญัติไว้ในมาตรา 209 ถึงมาตรา 216
(2) ความผิดเกี่ยวกับการก่อให้เกิดภยันตรายต่อประชาชน ตามที่บัญญัติไว้ในมาตรา 217 ถึงมาตรา 224
(3) ความผิดเกี่ยวกับเงินตรา ตามที่บัญญัติไว้ในมาตรา 240 ถึงมาตรา 246
(4) ความผิดเกี่ยวกับเพศ ตามที่บัญญัติไว้ในมาตรา 276 ถึงมาตรา 286
(5) ความผิดต่อชีวิต ตามที่บัญญัติไว้ในมาตรา 288 ถึงมาตรา 290 มาตรา 292 ถึงมาตรา 294
(6) ความผิดต่อร่างกาย ตามที่บัญญัติไว้ในมาตรา 295 ถึงมาตรา 299
(7) ความผิดต่อเสรีภาพ ตามที่บัญญัติไว้ในมาตรา 309 ถึงมาตรา 320
(8) ความผิดเกี่ยวกับทรัพย์ ตามที่บัญญัติไว้ในมาตรา 334 ถึงมาตรา 340 มาตรา 354 และมาตรา 357
และภายในเวลาสิบปีนับแต่วันที่ผู้นั้นได้พ้นจากการกักกัน หรือพ้นโทษ แล้วแต่กรณี ผู้นั้นได้กระทำความผิดอย่างหนึ่งอย่างใดในบรรดาที่ระบุไว้นั้นอีกจนศาลพิพากษาลงโทษจำคุกไม่ต่ำกว่าหกเดือนสำหรับการกระทำความผิดนั้น ศาลอาจถือว่า ผู้นั้นเป็นผู้กระทำความผิดติดนิสัย และจะพิพากษาให้กักกันมีกำหนดเวลาไม่น้อยกว่าสามปีและไม่เกินสิบปีก็ได้
ความผิดซึ่งผู้กระทำได้กระทำในขณะที่มีอายุต่ำกว่าสิบแปดปีนั้น มิให้ถือเป็นความผิดที่จะนำมาพิจารณากักกันตามมาตรานี้
*************
คุณคงไม่โชคดีอีก
แสดงความคิดเห็น
เรื่องคดีอาญา การโดนจับคดีอาญาหลังเคยมีคดีอาญาเก่าที่จบไปแล้ว
เข้าเรื่องเลยนะครับ ผมเคยโดนคดีอาญาต้องโทษของคดีลักทรัพย์ยามวิกาล ปี 58 หรือไหมก็ ปี 59 ซึ่งตอนนั่นศาลได้ตัดสินรอลงอาญา 2 ปี ผมได้ไปตามนัดและก็บําเพ็ญประโยชน์ครบตามกำหนดจนได้พ้นโทษคดีจบ 2 ปีแล้ว แล้วใน ปี 63 ผมโดนคดีอาญาข้อหาลักทรัพย์ รูปคดีคือผมได้เอาของในลานจอดรถไปในตอนกลางวัน(หมวกกันน็อค) ราคาสินค้า 200 บาท ถางตำรวจได้โทรมาให้ผมไปโรงพัก ผมได้เข้ามามอบตัวและรับสารภาพไม่ได้โดนหมายจับหรอโดนบันทึกจับกุม ผมอยากรู้ว่าถางศาลจะนำคดีเก่ามาตัดสินร่ามด้วยไหม ผมจะโดนตัดสินจำคุกหรอป่าว(แบบไม่รอลงอาญ