เกริ่นนำยาวๆ อยากอวด
ก่อนอื่น ขอบอกก่อนว่า ผมเป็นคนหนึ่งที่เรียนรู้ภาษาได้ไวมากมาตั้งแต่เด็กครับ
ตอน อ.3 เรียนสะกดคำ นี่ผมเบื่อสุดๆเลย เพราะครูไปช้าเกินจนน่าหลับ
ไม่รู้สิครับ มันไม่มีอะไรยากเลยจริงๆนะ
ก็แค่เอา 3 ส่วนมาแปะๆกัน
ตอน ป.1 หลังเลิกเรียน มักจะมีให้เด็กไปอ่านผันเสียงวรรณยุกต์
แบบ กา ก่า ก้า ก๊า ก๋า ไรงี้
ในขณะที่เพื่อนๆท่อง คา ข่า ค่า ค้า ขา
ผมท่อง คา ค่า ค้า ค๊า(ค้า) ค๋า(ขา) ครับ ก็ เริ่มด้วย คอควาย ก็ต้องคิดแบบ คอควาย สิ
ตอนนั้นก็ไม่ได้รู้จัก อักษรสูง กลาง ต่ำ อะไรหรอกนะครับ ผมไม่ใช่อัจฉริยะเรียนล่วงหน้า 55
โดนหัวเราะใส่เยอะอยู่ แต่ผมก็มั่นใจว่าผมถูก
การทำความเข้าใจของผมเกิดจากการสร้างภาพเส้นเสียงในหัว
ไม้เอก คือ กดเสียงลง
ไม้โท คือ ดันเสียงขึ้นต่ำ
ไม้ตรี คือ ดันเสียงขึ้นสูง
ไม้จัตวา คือ เสียงวน ลงแล้วขึ้นต่ำกว่าจุดเริ่ม
ตอนนั้นเวลาเข้าแถวเคารพเพลงชาติผมก็มักจะวาดเส้นเสียงในอากาศ สนุกดีครับ
คำแต่ละคำก็มีจุดเริ่มเส้นที่ต่างกัน (ซ้ายไปขวา นะครับ)
ลองพูดดูครับ
กา ใช้ฟันดันออกไปตรงๆ
คา ใช้คอดันลมใส่ฟันล่าง
ขา เวลาพูดเราเอาลิ้นดันลมใส่เพดานปาก
แล้วก็มีเสียง วน ครับ
คำว่า อ๋า จริงๆแล้วคือ 3 ลมติดกันในคำเดียว ตามลำดับ
1. อา จากคอขึ้นเพดานบน
2. อ่า แล้ว ว์ นิดนึง (ลองพูด อาว์ คุณจะห่อปาก)
3. อ้า
[Spoil] คลิกเพื่อดูข้อความที่ซ่อนไว้เวลาวาดเส้นเสียง อย่างที่บอก ตอนนั้นฟังเพลงชาติก็เขียนอากาศ ผมก็ไม่ได้คิดมากขนาดนี้นะ สำหรับผมเรื่องพวกนี้คือ คอมม่อนเซ้นส์
และเมื่อเอามารวมวรรณยุกต์ก็เป็น
พิเศษหน่อยคือคำว่า คา พอเจอ ไม้เอก มันขึ้นซะงั้น แทนที่จะลง เหมือน ก่า ข่า นี่คือความไม่สมบูรณ์แบบของภาษาไทย
ผมก็เคยคิดนะว่าเราควร renovate วรรณยุกต์ให้มันมีอารยธรรมมากขึ้น
ขอไข่ คือ พยัญชนะสิ้นเปลืองครับ จริงๆมีแค่ คอควาย ก็พอ
เลือก ค เพราะ เอาตัวเส้นเสียง ที่ simple มากกว่า เป็นหลัก
มี 5 เสียงวรรณยุกต์เหมือนเดิม
1. สามัญ เสียงกลาง
2. A ตัวอะไรก็ได้ที่แปลว่าการกดเสียงเท่านั้น
3. B ตัวอะไรก็ได้ที่แปลว่าการดันเสียงขึ้นต่ำ
4. ตรี การดันเสียงขึ้นสูง
5. จัตวา เสียงวน ลงแล้วขึ้นต่ำกว่าจุดเริ่ม
กา สามัญ = กา
กา A = ก่า
กา B = ก้า
กา ตรี = ก๊า
กา จัตวา = ก๋า
คา สามัญ = คา
คา A = ข่า
คา B = ค่า / ข้า
คา ตรี = ค้า / ข๊า
คา จัตวา = ค๋า / ขา
ก็เพียงพอแล้วนะจริงๆ
คา ค่า ค้า ค๊า ค๋า ขา ข่า ข้า ข๊า ข๋า มันก็มีอยู่แค่ 5 เสียงนะครับที่ต่างกัน
แล้ววรรณยุกต์เรามี 5 พอดี นี่สงสัยจริงๆนะ ทำไมไม่สามารถทำให้มันลงตัวได้ด้วยอักษรเดียว
[Spoil] คลิกเพื่อดูข้อความที่ซ่อนไว้อาจจะมีข้อกังขาว่า อ่าวงี้เราก็สร้างความหมายได้น้อยสิ อย่าง ค่า ข้า ฆ่า ที่ใช้อยู่ มันก็คนละความหมายอยู่
ไม่ครับ มันมีวิธีแก้ปัญหาที่ดีมากแต่เราไม่ใช้
มันน่าเศร้านะ ที่เราสร้างสระได้ตั้ง 32 แบบ แต่เราสร้างคำจากมันในความหลากหลายที่ต่ำเตี้ยเรี่ยดิน มาก นะ
อย่าง สระเอ + ? ให้ ? คือพยัญชนะอะไรก็ได้ ที่ทำให้มีความหมาย หรือแม้กระทั่ง เป็นส่วนหนึ่งของคำอื่น
เราใช้พยัญชนะไม่ถึงครึ่งของที่มีด้วยซ้ำ ใช้แบบไม่รู้จักคุณค่ามาก
แม้แต่คำเสียงเบสิค เค เจ (กินเจ ไม่นับ ไม่ใช่คำไทย) เฟ เอ เราก็ไม่ได้เอามาใช้เลยนะครับ ในส่วนของคำไทยแท้เราเอง
ในขณะที่เราสร้างเสียงได้เยอะกว่าเกาหลีมากๆ
พยัญชนะ 44 สระ 32 วรรณยุกต์ 5 ของเรากลับมีศัพท์แค่ 2,864 คำ (นับเฉพาะ คำมูล ที่ไม่ทับศัพท์ต่างประเทศ)
แต่ พยัญชนะ 19 สระ 21 วรรณยุกต์ 0 ของเกาหลี (นับแบบให้เปรียบเราด้วย, ㄱ คือ ค ในพยางค์แรกแต่เป็น ก ในพยางค์ถัดไป / ㄲ คล้าย ㄱ แค่จะเป็นสระเสียงสั้น (เกาหลีถ้าไ่มีตัวสะกด สระยาวหมด อันนี้จะทำให้มันสั้นได้ / ㅋ คือ ค สำหรับใช้ในพยางค์หลัง, งี้ก็นับ 3 เลย)
เค้าควบคุมเสียงสั้นยาวไม่ได้ และมีน้อยกว่าเรา 41 ตัว แต่เค้าสร้างศัพท์ได้ 1.1 ล้านคำ และ สูงที่สุดในโลก
ดูเราดิ น่าสมเพชเนอะ มีของดี ใช้ทิ้งขว้าง ประเด็นหลักๆเลยคือ เราใช้เสียงไม่ครบของที่ทำได้ ไม่ถึง 1/4 ด้วยซ้ำ แต่เกาหลีใช้มากกว่า 90% ครับ
ไทยเรา แทนที่จะสร้างคำใหม่ ก้ไม่ เอาความหมายมายำๆกัน เรามีคำประสมมากกว่าคำมูล เกิน 10 เท่าด้วยซ้ำมั้ง
ของในชีวิตประจำวัน ง่ายๆสื่งที่เจอหลังตื่นนอน หมอนข้าง ผ้าห่ม ผ้าม่าน มุ้งลวด หน้าต่าง กำแพง ตู้เสื้อผ้า ห้องน้ำ แปรงสีฟัน ยาสีฟัน ฝักบัว ยาสระผม ครีมนวดผม ผ้าเช็ดตัว คอห่าน โอ้ย แค่จะตื่นมาอาบน้ำก็เกิน 10 ละ
ภาษาอื่นเค้าก็มีครับไม่ใช่ไม่มี อะไรที่ควรมีจริงๆก็มีเหอะ อีกอย่างนะ ส่วนใหญ่เค้าก็มีเพราะคำที่ทำได้มันเสียงจำกัด เราเนี่ย ได้เปรียบกว่าเค้ายังมีมากกว่าเค้าอีก
เทียบอังกฤษเลยง่ายๆ Bolster Blanket Curtain WireScreen Window Wall Wardrobe Toilet/RestRoom ToothBrush ToothPaste Shower Shampoo Conditioner Towel Cesspool อังกฤษ ภาษาคำศัพท์ 5 แสน คำ ใช้คำประสมแค่ 3 หรือ 4 คำเอง ใน 15 คำของเรา
กลับมา นะค่ะ ของเรา ผมคิดว่าคนที่ใช้ผิดเพราะเค้าคิดว่า ค่ะ เสียงเหมือน คะ หรืออาจจะไม่รู้เลยว่าเสียงเป็นไง แค่จำมาว่าวะกดงี้ จำจากไหนไม่ทราบ
สำหรับผม ผมเป็นคนที่อ่านตามทุกคำ แล้วพออ่าน นะค่ะ มันหงุดหงิดนะ ก็อย่างที่บอกผมสร้างเส้นเสียงในหัว เวลาเจออะไรที่เส้นตีกันเองมันมีความรู้สึกเหมือนเอาเล็บข่วนกระดานดำอะ
เอาตรงๆ ภาษาไทยเป็นภาษาที่เลือกคำได้เก่งนะครับ หวาน เปรี้ยว เค็ม เผ็ด ขม เส้นเสียงที่สร้างได้จากคำเหล่านี้ ตรงกันเป๊ะแบบ 100% กับความรู้สึกเวลาที่กินของรสชาติแบบนั้นๆ
นะ คือเสียงดันขึ้นที่ทุ้มสูง ลองพูดดูก็ได้ เราเอาลิ้นดันลมขึ้นเพดานปาก
จะเห็นว่า มันมีการทุ้มนิดนึงที่ปลาย แม้จะไม่เยอะแต่มันเป็นเสียงทุ้มที่ต่ำ ด้วยตัวมันเองก็ไม่น่ารำคาญเท่าไหร่หรอก
ภาษาไทยเรามีการปรับให้เพอร์เฟคด้วยคำว่า คะ
โดยรวมเป็นเสียงที่ไพเราะเลยหละ
ส่วนนี่คือคำว่า ค่ะ อ่านว่า ข้ะ
เช่นกันกับคำว่า นะ ด้วยตัวมันเองก็ไม่น่ารำคาญเท่าไหร่หรอก
แต่พอมารวมกันปุ๊บ
ความสูงของมันไม่สามารถเลยจะงอยงุ้มนั่นได้ และด้วยความที่ เริ่มจากที่ต่ำทั้งคู่ มันประสานเสียงกันให้เกิดความทุ้มแปร่ง
นี่คือ คิดเสียงตามในใจยังหงุดหงิดเลย
ก็เลยทำให้ผมใช้ นะคะ ถูกต้องมาแต่ไหนแต่ไร (ชอบแต่งเรื่อง นิยาย สตอรี่แนวผจญภัยครับ เวลาว่างๆ ตัวละครก็มีทั้งหญิงชาย อะ)
ผมอาจจะอธิบายเข้าใจได้ยาก ไม่รู้สิครับ มันคือสิ่งที่ผมสัมผัสได้อยู่ตลอดเวลาอะ
สำหรับผม การสร้างเส้นเสียงพวกนี้มันง่ายมากจริงๆ เหมือนเป็นคอมม่อนเซ้นส์
และ มองในมุมของผม ผมสงสัยจริงๆครับว่า คนที่ใช้ผิด เค้าไม่รู้สึกแปร่งๆแบบผมบ้างเลยหรอ
งง ครับ ทำไมคนชอบใช้ นะค่ะ อ่านตามละเป็นเสียงที่น่ารำคาญจัง
ก่อนอื่น ขอบอกก่อนว่า ผมเป็นคนหนึ่งที่เรียนรู้ภาษาได้ไวมากมาตั้งแต่เด็กครับ
ตอน อ.3 เรียนสะกดคำ นี่ผมเบื่อสุดๆเลย เพราะครูไปช้าเกินจนน่าหลับ
ไม่รู้สิครับ มันไม่มีอะไรยากเลยจริงๆนะ
ก็แค่เอา 3 ส่วนมาแปะๆกัน
ตอน ป.1 หลังเลิกเรียน มักจะมีให้เด็กไปอ่านผันเสียงวรรณยุกต์
แบบ กา ก่า ก้า ก๊า ก๋า ไรงี้
ในขณะที่เพื่อนๆท่อง คา ข่า ค่า ค้า ขา
ผมท่อง คา ค่า ค้า ค๊า(ค้า) ค๋า(ขา) ครับ ก็ เริ่มด้วย คอควาย ก็ต้องคิดแบบ คอควาย สิ
ตอนนั้นก็ไม่ได้รู้จัก อักษรสูง กลาง ต่ำ อะไรหรอกนะครับ ผมไม่ใช่อัจฉริยะเรียนล่วงหน้า 55
โดนหัวเราะใส่เยอะอยู่ แต่ผมก็มั่นใจว่าผมถูก
การทำความเข้าใจของผมเกิดจากการสร้างภาพเส้นเสียงในหัว
ไม้เอก คือ กดเสียงลง
ไม้โท คือ ดันเสียงขึ้นต่ำ
ไม้ตรี คือ ดันเสียงขึ้นสูง
ไม้จัตวา คือ เสียงวน ลงแล้วขึ้นต่ำกว่าจุดเริ่ม
ตอนนั้นเวลาเข้าแถวเคารพเพลงชาติผมก็มักจะวาดเส้นเสียงในอากาศ สนุกดีครับ
คำแต่ละคำก็มีจุดเริ่มเส้นที่ต่างกัน (ซ้ายไปขวา นะครับ)
ลองพูดดูครับ
กา ใช้ฟันดันออกไปตรงๆ
คา ใช้คอดันลมใส่ฟันล่าง
ขา เวลาพูดเราเอาลิ้นดันลมใส่เพดานปาก
แล้วก็มีเสียง วน ครับ
คำว่า อ๋า จริงๆแล้วคือ 3 ลมติดกันในคำเดียว ตามลำดับ
1. อา จากคอขึ้นเพดานบน
2. อ่า แล้ว ว์ นิดนึง (ลองพูด อาว์ คุณจะห่อปาก)
3. อ้า
[Spoil] คลิกเพื่อดูข้อความที่ซ่อนไว้
และเมื่อเอามารวมวรรณยุกต์ก็เป็น
พิเศษหน่อยคือคำว่า คา พอเจอ ไม้เอก มันขึ้นซะงั้น แทนที่จะลง เหมือน ก่า ข่า นี่คือความไม่สมบูรณ์แบบของภาษาไทย
ผมก็เคยคิดนะว่าเราควร renovate วรรณยุกต์ให้มันมีอารยธรรมมากขึ้น
ขอไข่ คือ พยัญชนะสิ้นเปลืองครับ จริงๆมีแค่ คอควาย ก็พอ
เลือก ค เพราะ เอาตัวเส้นเสียง ที่ simple มากกว่า เป็นหลัก
มี 5 เสียงวรรณยุกต์เหมือนเดิม
1. สามัญ เสียงกลาง
2. A ตัวอะไรก็ได้ที่แปลว่าการกดเสียงเท่านั้น
3. B ตัวอะไรก็ได้ที่แปลว่าการดันเสียงขึ้นต่ำ
4. ตรี การดันเสียงขึ้นสูง
5. จัตวา เสียงวน ลงแล้วขึ้นต่ำกว่าจุดเริ่ม
กา สามัญ = กา
กา A = ก่า
กา B = ก้า
กา ตรี = ก๊า
กา จัตวา = ก๋า
คา สามัญ = คา
คา A = ข่า
คา B = ค่า / ข้า
คา ตรี = ค้า / ข๊า
คา จัตวา = ค๋า / ขา
ก็เพียงพอแล้วนะจริงๆ
คา ค่า ค้า ค๊า ค๋า ขา ข่า ข้า ข๊า ข๋า มันก็มีอยู่แค่ 5 เสียงนะครับที่ต่างกัน
แล้ววรรณยุกต์เรามี 5 พอดี นี่สงสัยจริงๆนะ ทำไมไม่สามารถทำให้มันลงตัวได้ด้วยอักษรเดียว
[Spoil] คลิกเพื่อดูข้อความที่ซ่อนไว้
กลับมา นะค่ะ ของเรา ผมคิดว่าคนที่ใช้ผิดเพราะเค้าคิดว่า ค่ะ เสียงเหมือน คะ หรืออาจจะไม่รู้เลยว่าเสียงเป็นไง แค่จำมาว่าวะกดงี้ จำจากไหนไม่ทราบ
สำหรับผม ผมเป็นคนที่อ่านตามทุกคำ แล้วพออ่าน นะค่ะ มันหงุดหงิดนะ ก็อย่างที่บอกผมสร้างเส้นเสียงในหัว เวลาเจออะไรที่เส้นตีกันเองมันมีความรู้สึกเหมือนเอาเล็บข่วนกระดานดำอะ
เอาตรงๆ ภาษาไทยเป็นภาษาที่เลือกคำได้เก่งนะครับ หวาน เปรี้ยว เค็ม เผ็ด ขม เส้นเสียงที่สร้างได้จากคำเหล่านี้ ตรงกันเป๊ะแบบ 100% กับความรู้สึกเวลาที่กินของรสชาติแบบนั้นๆ
นะ คือเสียงดันขึ้นที่ทุ้มสูง ลองพูดดูก็ได้ เราเอาลิ้นดันลมขึ้นเพดานปาก
จะเห็นว่า มันมีการทุ้มนิดนึงที่ปลาย แม้จะไม่เยอะแต่มันเป็นเสียงทุ้มที่ต่ำ ด้วยตัวมันเองก็ไม่น่ารำคาญเท่าไหร่หรอก
ภาษาไทยเรามีการปรับให้เพอร์เฟคด้วยคำว่า คะ
โดยรวมเป็นเสียงที่ไพเราะเลยหละ
ส่วนนี่คือคำว่า ค่ะ อ่านว่า ข้ะ
เช่นกันกับคำว่า นะ ด้วยตัวมันเองก็ไม่น่ารำคาญเท่าไหร่หรอก
แต่พอมารวมกันปุ๊บ
ความสูงของมันไม่สามารถเลยจะงอยงุ้มนั่นได้ และด้วยความที่ เริ่มจากที่ต่ำทั้งคู่ มันประสานเสียงกันให้เกิดความทุ้มแปร่ง
นี่คือ คิดเสียงตามในใจยังหงุดหงิดเลย
ก็เลยทำให้ผมใช้ นะคะ ถูกต้องมาแต่ไหนแต่ไร (ชอบแต่งเรื่อง นิยาย สตอรี่แนวผจญภัยครับ เวลาว่างๆ ตัวละครก็มีทั้งหญิงชาย อะ)
ผมอาจจะอธิบายเข้าใจได้ยาก ไม่รู้สิครับ มันคือสิ่งที่ผมสัมผัสได้อยู่ตลอดเวลาอะ
สำหรับผม การสร้างเส้นเสียงพวกนี้มันง่ายมากจริงๆ เหมือนเป็นคอมม่อนเซ้นส์
และ มองในมุมของผม ผมสงสัยจริงๆครับว่า คนที่ใช้ผิด เค้าไม่รู้สึกแปร่งๆแบบผมบ้างเลยหรอ