พอดีผมเพิ่งตามข่าวสารบ้านเมือง แล้วไปเจอข่าวที่ว่า
”ชาวนาเอาผ้าแสลนปิดหลอดไฟริมถนน อ้างทำให้ข้าวไม่ตั้งท้อง”
แล้วมีคนบอกว่าชาวนามั่วบางหล่ะ เห็นแก่ตัวบ้างหล่ะ etc.
แต่ผมมีข้อมูลบางอย่างมาแบ่งปัน และข้อมูลนี้อาจจะอธิบายและแก้ปัญหานี้ได้
แสง ทำอะไร ทำไมข้าวไม่ออกรวง???
สมมุติฐานหนึ่งของผมคือ แสง มีผลต่อฮอร์โมนพืช และ การได้รับแสงมากเกินไป จะทำให้ข้าวไม่ออกรวง
เพราะพืช มีกลไกการควบคุมฮอร์โมนอย่างหนึ่ง ที่ใช้ “ไฟโตโครม(phytochrome)” ควบคุม (ต่อไปจะย่อว่า P)
โดยไฟโตโครม จะมีการทำงานคล้ายๆเข็มฉีดยา
(ข้อมูลต่อไปนี้ทำเพื่อให้ง่ายต่อการเข้าใจ อาจจะเพี้ยนจากความจริงไปบ้าง)
เมื่อไฟโตโครมได้รับแสง far-red (มีอยู่ตอดเวลาแม้ตอนกลางคืน) มันจะสะสมสารที่จำเป็นในการสร้างฮอร์โมน
จินตนาการคล้ายตอนดูดเข็มฉีดยาขึ้นมา
และพอไฟโตโครมได้รับแสงสีแดง ซึ่งอยู่ในแสงขาว (พบในตอนกลางวัน และ พบในหลอดไฟทั่วไป) มันจะหยุดสะสมสาร
และ สร้าง+ปลดปล่อยฮอร์โมนออกมาทันที(เหมือนตอนกดเข็มฉีดยาแล้วยาพุ่ง)
ทีนี้ นึกภาพว่า ถ้าเราดึงเข็มฉีดยามานิดนึง แล้วกดทันที แรงดันมันก็จะไม่เยอะ
แต่ถ้าเราชาร์จนานๆ แล้วกดทีเดียวแรงดันมันก็จะเยอะกว่า
P ก็เหมือนกัน มันต้องการ far-red=ความมืด เพื่อชาร์จ แล้วค่อยได้รับแสง เพื่อปล่อย
ถ้าเกิดมันชาร์ตยังไม่เต็มเลย แล้วถูกรบกวน มันก็จะสร้างฮอร์โมนออกมาได้น้อย
และส่งผลให้พืช ไม่ตอบสนองอย่างที่ควรจะเป็น
เช่น มีการทดลองพบว่า พืชหลายชนิด จะไม่ออกดอกถ้า ได้รับฟาเรดในเวลาที่สั้นเกินไป หรือถูกขัดด้วยแสงสีแดง
ระหว่างชาร์ตสารที่ใช้ผลิตฮอร์โมน
ทำนองเดียวกัน ข้าว ที่กำลังชาร์ตอันติ ตั้งท้อง โดนแสงสีแดงเบิร์นมานาไปก่อน มันก็ตั้งท้องไม่ได้
แล้วจะแก้ยังไง???
ก่อนอื่นต้องพิสูจน์ให้ได้ก่อน ว่าที่ข้าวไม่ตั้งท้อง เป็นเพราะะแสงสีแดงขัดขวางฟาเรด ด้วยการเอาข้าวมา
ให้แสงไฟ ที่กรองแสงสีแดงออกอันนึง(1) ที่ไม่กรองแสงสีแดงอันนึง(2)ใส่มันตอนกลางคืน แล้วดูว่าตั้งท้องไหม
ถ้า (1) ท้อง (2) ไม่ท้อง เป็นอันว่าสมมุติฐานมีมูลละ
เราก็แค่เอาแผ่นกรองแสงสีแดง. หรือสีโปร่งแสงที่กรองแสงสีแดงได้(นึกภาพเจล ฟิล์ม ไรงี้) ไปทับ
และถ้าไฟข้างทางจะตั้งอีก ก็ใช้กระจกใสที่กรองแสงสีแดงได้ ก็น่าจะแก้ปัญหาได้
Winๆ ทั้งรัฐ ทั้งชาวนา
(พยายาม) อธิบาย. ทำไมแสงไฟทำให้ข้าวไม่ออกรวง
”ชาวนาเอาผ้าแสลนปิดหลอดไฟริมถนน อ้างทำให้ข้าวไม่ตั้งท้อง”
แล้วมีคนบอกว่าชาวนามั่วบางหล่ะ เห็นแก่ตัวบ้างหล่ะ etc.
แต่ผมมีข้อมูลบางอย่างมาแบ่งปัน และข้อมูลนี้อาจจะอธิบายและแก้ปัญหานี้ได้
แสง ทำอะไร ทำไมข้าวไม่ออกรวง???
สมมุติฐานหนึ่งของผมคือ แสง มีผลต่อฮอร์โมนพืช และ การได้รับแสงมากเกินไป จะทำให้ข้าวไม่ออกรวง
เพราะพืช มีกลไกการควบคุมฮอร์โมนอย่างหนึ่ง ที่ใช้ “ไฟโตโครม(phytochrome)” ควบคุม (ต่อไปจะย่อว่า P)
โดยไฟโตโครม จะมีการทำงานคล้ายๆเข็มฉีดยา
(ข้อมูลต่อไปนี้ทำเพื่อให้ง่ายต่อการเข้าใจ อาจจะเพี้ยนจากความจริงไปบ้าง)
เมื่อไฟโตโครมได้รับแสง far-red (มีอยู่ตอดเวลาแม้ตอนกลางคืน) มันจะสะสมสารที่จำเป็นในการสร้างฮอร์โมน
จินตนาการคล้ายตอนดูดเข็มฉีดยาขึ้นมา
และพอไฟโตโครมได้รับแสงสีแดง ซึ่งอยู่ในแสงขาว (พบในตอนกลางวัน และ พบในหลอดไฟทั่วไป) มันจะหยุดสะสมสาร
และ สร้าง+ปลดปล่อยฮอร์โมนออกมาทันที(เหมือนตอนกดเข็มฉีดยาแล้วยาพุ่ง)
ทีนี้ นึกภาพว่า ถ้าเราดึงเข็มฉีดยามานิดนึง แล้วกดทันที แรงดันมันก็จะไม่เยอะ
แต่ถ้าเราชาร์จนานๆ แล้วกดทีเดียวแรงดันมันก็จะเยอะกว่า
P ก็เหมือนกัน มันต้องการ far-red=ความมืด เพื่อชาร์จ แล้วค่อยได้รับแสง เพื่อปล่อย
ถ้าเกิดมันชาร์ตยังไม่เต็มเลย แล้วถูกรบกวน มันก็จะสร้างฮอร์โมนออกมาได้น้อย
และส่งผลให้พืช ไม่ตอบสนองอย่างที่ควรจะเป็น
เช่น มีการทดลองพบว่า พืชหลายชนิด จะไม่ออกดอกถ้า ได้รับฟาเรดในเวลาที่สั้นเกินไป หรือถูกขัดด้วยแสงสีแดง
ระหว่างชาร์ตสารที่ใช้ผลิตฮอร์โมน
ทำนองเดียวกัน ข้าว ที่กำลังชาร์ตอันติ ตั้งท้อง โดนแสงสีแดงเบิร์นมานาไปก่อน มันก็ตั้งท้องไม่ได้
แล้วจะแก้ยังไง???
ก่อนอื่นต้องพิสูจน์ให้ได้ก่อน ว่าที่ข้าวไม่ตั้งท้อง เป็นเพราะะแสงสีแดงขัดขวางฟาเรด ด้วยการเอาข้าวมา
ให้แสงไฟ ที่กรองแสงสีแดงออกอันนึง(1) ที่ไม่กรองแสงสีแดงอันนึง(2)ใส่มันตอนกลางคืน แล้วดูว่าตั้งท้องไหม
ถ้า (1) ท้อง (2) ไม่ท้อง เป็นอันว่าสมมุติฐานมีมูลละ
เราก็แค่เอาแผ่นกรองแสงสีแดง. หรือสีโปร่งแสงที่กรองแสงสีแดงได้(นึกภาพเจล ฟิล์ม ไรงี้) ไปทับ
และถ้าไฟข้างทางจะตั้งอีก ก็ใช้กระจกใสที่กรองแสงสีแดงได้ ก็น่าจะแก้ปัญหาได้
Winๆ ทั้งรัฐ ทั้งชาวนา